Page 166 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 166

158


                       3. รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร มีลักษณะแตกตางกับรัฐธรรมนูญที่ไมเปนลายลักษณอักษร

               อยางไร
               ..............................................................................................................................................................................

               ..............................................................................................................................................................................

               ..............................................................................................................................................................................
               ..............................................................................................................................................................................

               ....................................................................................................




               เรื่องที่ 2 เปรียบเทียบรูปแบบทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยและระบอบอื่น ๆ



                       ระบอบการเมืองการปกครอง  หมายถึง  การจัดระบบใหคนสวนใหญในสังคมสามารถดําเนินชีวิต
               อยูรวมกันไดอยางมีระเบียบแบบแผน  มีความสัมพันธกันอันกอใหเกิดขอตกลงอันดีงามรวมกัน  บังเกิด

               ความผาสุกและความสามัคคีในสังคม ซึ่งแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ

                       1. ระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย
                       2. ระบอบการเมืองการปกครองแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข

                       ระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตย

                       ประชาธิปไตยเปนระบบการปกครองที่ประเทศสวนใหญในโลกนิยมใชเปนหลักในการจัดการปกครอง
               และบริหารประเทศ รวมทั้งประเทศไทยซึ่งใชมานานกวา 70 ปแลว การปกครองระบอบประชาธิปไตยเกิดจาก

               ความศรัทธาในคุณคาของความเปนมนุษยและเชื่อวาคนเราสามารถปกครองประเทศได  จึงกําหนดให
               ประชาชนเปนเจาของอํานาจในการปกครอง  ซึ่งถือวาการเมือง  การปกครองมาจากมวลชน  รูปแบบการ

               ปกครองแบบประชาธิปไตย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ

                       1. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริยเปนประมุข  รัฐธรรมนูญและการปกครองของไทย
               ทุกฉบับกําหนดไวอยางชัดแจงวา เทิดทูนพระมหากษัตริยเปนสถาบันสูงสุด ดํารงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพ

               สักการะผูใดจะละเมิดมิได รัฐธรรมนูญกําหนดวา ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ
               มิได  พระราชอํานาจของพระมหากษัตริยจึงมีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญ  โดยปกติรัฐธรรมนูญกําหนดให

               พระมหากษัตริยเปนผูใชอํานาจอธิปไตย ซึ่งเปนของประชาชนโดยใชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา อํานาจ

               บริหารผานทางคณะรัฐมนตรีและอํานาจตุลาการผานทางศาล การกําหนดเชนนี้หมายความวา อํานาจตาง ๆ
               จะใชในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยซึ่งในความเปนจริง อํานาจเหลานี้มีองคกรเปนผูใช    ฉะนั้น

               การที่บัญญัติวาพระมหากษัตริยเปนผูใชอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหารและอํานาจตุลาการผานทางองคกร

               ตาง ๆ นั้นจึงเปนการเฉลิมพระเกียรติ แตอํานาจที่แทจริงอยูที่องคกรที่เปนผูพิจารณานําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย
               เพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171