Page 167 - 012สังคมศึกษา-สค21001
P. 167

159


                       อยางไรก็ตาม แมกระทั่งพระมหากษัตริยในระบอบรัฐธรรมนูญ จะไดรับการเชิดชูใหอยูเหนือการเมือง

               และกําหนดใหมีผูรับสนองพระบรมราชโองการในการปฏิบัติการทางการปกครองทุกอยาง แตพระมหากษัตริย
               ก็ทรงมีพระราชอํานาจบางประการที่ไดรับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญและเปนพระราชอํานาจที่ทรงใชไดตาม

               พระราชอัธยาศัยจริง ๆ ไดแก การตั้งคณะองคมนตรี การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ เปนตน














































                       พระราชอํานาจที่สงผลกระทบตอการเมืองการปกครองอยางแทจริง คือ พระราชอํานาจในการยับยั้ง

               รางพระราชบัญญัติ ในกรณีที่พระมหากษัตริยทรงไมเห็นดวยกับรางพระราชบัญญัติที่ผานการเห็นชอบของ

               รัฐสภามาแลว และนายกรัฐมนตรีนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายเพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช
               ก็อาจใชพระราชอํานาจยับยั้งเสียก็ได ซึ่งรัฐสภาจะตองนํารางพระราชบัญญัติที่ถูกยับยั้งนั้นไปพิจารณาใหม

               แตในทางปฏิบัติไมปรากฏวา พระมหากษัตริยทรงใช พระราชอํานาจนี้
                       2. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข ระบบนี้ไดถูกสรางขึ้นมานานกวา 200 ป

               แลว โดยมีประเทศสหรัฐอเมริกาเปนแมแบบ ซึ่งมีบทบาทสําคัญทางการเมือง คือ ประธานาธิบดี จะเปน

               ทั้งผูนําทางการเมืองและเปนผูนําประเทศ  ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั่วประเทศ
               โดยผานคณะผูเลือกตั้ง สวนสมาชิกวุฒิสภาจะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนแตละมลรัฐและ

               สมาชิกสภาผูแทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในแตละเขตเลือกตั้ง มีการบริหารประเทศโดยมี

               รองประธานาธิบดีและรัฐมนตรีรวม
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172