Page 13 - การจัดทำข้อมูลการผลิตและประมาณการผลผลิตทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง
P. 13
2
แบบทดสอบก่อนเรียน (10 ข้อ)
บทที่ 2 สถานการณ์และแนวทางการบริหารจัดการผลไม้ภาคตะวันออก
5. ลักษณะการท าสวนไม้ผล แบ่งออกเป็นกี่รูปแบบ อะไรบ้าง
ก. 2 รูปแบบ คือสวนเชิงเดี่ยวและสวนผสม
ข. 2 รูปแบบ คือสวนเชิงเดี่ยวและสวนผสมผสาน
ค. 2 รูปแบบ คือสวนเชิงเดี่ยวและสวนเชิงผสมผสาน
ง. 3 รูปแบบ คือ สวนเชิงเดี่ยว, สวนผสมและสวนผสมผสาน
จ. 3 รูปแบบ คือ สวนเชิงเดี่ยว , สวนผสมผสาน และสวนเชิงผสมผสาน
6. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ “จุดแข็ง” ของผลไม้ไทย
ก. ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตและส่งออกผลไม้เมืองร้อนที่ส าคัญ โดยเฉพาะผลไม้เศรษฐกิจหลัก เช่น ทุเรียน
มังคุด และล าไย
ข. รายได้จากการส่งออกผลไม้สดและผลิตภัณฑ์แปรรูปของประเทศไทยขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ค. เกษตรกรและผู้ประกอบการผลไม้มีประสบการณ์ความช านาญสูง และตั้งใจพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ง. ผลไม้ไทยมีหลากหลายชนิด มีผลผลิตหมุนเวียนออกสู่ตลาดต่อเนื่องทั้งปี และบางชนิดมีศักยภาพในการ
ผลิตนอกฤดู
จ. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นช่องทางให้เกษตรกรและผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสาร ความรู้ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น
บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการบริหารจัดการผลไม้ภาคตะวันออก
7 การบริหารจัดการข้อมูลการตลาดผลไม้ภาคตะวันออกมีขั้นตอนการด าเนินการดังนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. จัดเก็บข้อมูลความต้องการของตลาดผลไม้จากทุกภาคส่วน
ข. ประมวลผลข้อมูล
ค. วิเคราะห์ข้อมูล
ง. สรุปผลข้อมูล
จ. ด าเนินการแก้ไขด้วยตนเอง
8. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบข้อมูลที่จัดเก็บส าหรับการบริหารจัดการข้อมูลการผลิตผลไม้ภาคตะวันออก
ก. เนื้อที่ยืนต้น (ไร่)
ข. เนื้อที่ให้ผล (ไร่)
ค. ผลผลิตเฉลี่ย (กิโลกรัม/ไร่)
ง. ปริมาณผลผลิต (ตัน)
จ. พื้นที่ส าหรับการเพาะปลูก (ไร่)