Page 27 - พัฒนาสังและชุมชน
P. 27

21



                              2. ตรวจสอบจํานวนชิ้นสวนกับแบบใหถูกตอง กอนประกอบชิ้นสวนใหตรวจนับกอนวา

                       ชิ้นสวนของเครื่องนั้น ๆ มีจํานวนกี่ชิ้น ถูกตองตรงตามแบบที่แนบมากับเครื่องหรือไม เครื่องมือ
                       เครื่องใชบางชนิดบางประเภทอาจมีหลายรุน แตละรุนคลายคลึงกัน อาจแตกตางเฉพาะขนาดหรือ

                       อุปกรณบางชิ้น แบบทุกรุนใชอันเดียวกัน แตจะกําหนดในหมายเหตุเฉพาะแตละรุนไว รุนนั้น ๆ

                       ประกอบอุปกรณกี่ชิ้น ชิ้นใดไมมีในรุนนั้น สภาพของชิ้นสวนชํารุดหรือไม หากชํารุดแตกหัก

                       ไมควรนํามาประกอบใช
                              3. อานทําความเขาใจขั้นตอนการประกอบ ขั้นตอนการประกอบจะกําหนดไวในแบบเปน

                       ชิ้นสวนหลักและชิ้นสวนชิ้นตอ ๆ ไปตามลําดับ 1 2 3 ชิ้นสวนหลักวางอยางไร หงาย คว่ํา เอียง

                       นอน ยืน ชิ้นสวนชิ้นที่ 1 ประกอบทางดานไหน บน ลาง ซาย หรือขวา ชิ้นสวนชิ้นตอ ๆ ไป วางตอ

                       จากชิ้นไหนอยางไร
                              4. ลงมือประกอบตามลําดับขั้นตอนที่กําหนด นําชิ้นสวนที่เปนหลักวางในตําแหนงและ

                       ทิศทางที่เหมาะสม อาจตองใชอุปกรณหรือเครื่องมืออื่นจับ ยึด หรือตองมีคนชวยจับ นําชิ้นสวน

                       ลําดับที่ 1 2 3 4 และ 5 ตามลําดับมาประกอบตามลําดับ ตามแบบกําหนด หามนําชิ้นสวนอื่นมา
                       ประกอบกันกอนโดยปฏิบัตินอกเหนือไปจากแบบอาจจะทําใหประกอบยาก และทําใหชิ้นสวน

                       เสียหาย

                              5. ประกอบใหครบทุกชิ้นกอนลงมือทดลองใช ประกอบชิ้นสวนใหครบทุกชิ้นกอนทดลองใช
                       บางครั้งผูประกอบอยากลองทั้งที่ประกอบชิ้นสวนไดเพียงบางชิ้น อยากจะทดสอบทีละขั้น ๆ ใน

                       ระหวางประกอบ เนื่องจากชิ้นสวนตองใชยึดโยงซึ่งกันและกันหากประกอบยังไมสมบูรณหาก

                       ทดลองจะทําใหเกิดการแตกหักชํารุดได ดังนั้น ตองประกอบทุกชิ้นสวนใหครบถวนตามแบบกอน

                       แลวจึงทําการทดสอบ
                              6. ชิ้นสวนชิ้นใดประกอบยากอยาฝน ใหคอย ๆ พิจารณา การประกอบชิ้นสวนอาจจะ

                       พิจารณารูปแบบไมชัดเจนหรือแบบผังที่ใหมาไมชัดเจน ในสวนที่ซอนหรือทับกัน หรือบางจุดตอง

                       ใชภาพขยายยุงยากอานแบบไมเขาใจ หรือมองอยางผิวเผินใชความเคยชินตัดสินใจประกอบ อาจจะ

                       ขัดกันตองพยายามฝนกดผลักจนประกอบได อาจจะทําใหชิ้นสวนนั้นโคง งอ และหักในที่สุด หาก
                       รูสึกวาการประกอบชิ้นสวนนั้นไมสะดวกยุงยากใหกลับไปพิจารณาแบบผังใหมอีกครั้ง ชิ้นสวน

                       ถูกตองตามแบบรุนจริงหรือไม

                       กิจกรรม
                              ใหประกอบโตะอาหาร จํานวน 1 ตัว ตามแบบ

                              วัสดุอุปกรณ

                              1. พื้นโตะขนาด 100 x 20 x 10 เซนติเมตร สําเร็จรูป จํานวน 1 ชิ้น
                              2. ขาโตะ ไมแทงสี่เหลี่ยมยาว 1.2 เมตร จํานวน 4 ทอน

                              3. น็อตพรอมแหวนรอง จํานวน 4 ชุด
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32