Page 37 - พัฒนาสังและชุมชน
P. 37

32



                       กิจกรรม

                              1. ใหผูเรียนจัดทําบัญชีเงินสดของตนเอง เปนรายบุคคล
                              2. ระยะเวลาในการปฏิบัติงานประมาณ 1 สัปดาห

                              3. นําเสนอผลการปฏิบัติงานโดยการสุมตัวอยาง



                       เรื่องที่  3   กลุมอาชีพใหม

                                   จากการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกทั้งในสวนการรวมกลุมทางการเงิน การเปลี่ยนแปลง

                       เทคโนโลยีอยางรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

                       ของผูบริโภค การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ และประการสําคัญคือ การเปลี่ยนแปลงโครงสราง
                       ประชากรทางสังคม ดังนั้น อาชีพในปจจุบันจะตองมีการพัฒนาวิธีการและศักยภาพในการแขงขันได

                       ในระดับโลก ซึ่งจะตองคํานึงถึงบริบทภูมิภาคหลักของโลก หรือ “รูศักยภาพเขา” หมายถึง ทวีปเอเชีย

                       ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป ทวีปออสเตรเลีย และทวีปแอฟริกา และจะตอง “รูศักยภาพเรา” หมายถึง
                       รูศักยภาพหลักของพื้นที่ประเทศไทย คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ศักยภาพ

                       ของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษยใน

                       แตละพื้นที่  ดังนั้น เพื่อใหการประกอบอาชีพสอดคลองกับศักยภาพหลักของพื้นที่และสามารถ
                       แขงขันในเวทีโลก จึงไดกําหนดกลุมอาชีพใหม 5 กลุมอาชีพ คือ กลุมอาชีพใหมดานการเกษตร

                       กลุมอาชีพใหมดานพาณิชยกรรม กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม กลุมอาชีพใหมดานความคิด

                       สรางสรรค และกลุมอาชีพใหมดานบริหารจัดการและบริการ

                                     1. กลุมอาชีพใหมดานการเกษตร คือการพัฒนาอาชีพในดานการเกษตรเกี่ยวกับ
                       การปลูกพืช เลี้ยงสัตว การประมง โดยนําองคความรูใหม เทคโนโลยี/นวัตกรรม มาพัฒนาให

                       สอดคลองกับศักยภาพหลักของพื้นที่ คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ตาม

                       ลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทําเลที่ตั้งของแตละพื้นที่ ศักยภาพของศิลปะ
                       วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีของแตละพื้นที่และศักยภาพของทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นที่ อาชีพ

                       ใหมดานการเกษตร เชน เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม วนเกษตร ธุรกิจ

                       การเกษตร เปนตน

                                     2. กลุมอาชีพใหมดานพาณิชยกรรม คือการพัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพดาน
                       พาณิชยกรรม เชน ผูใหบริการจําหนายสินคาทั้งแบบคาปลีกและคาสงใหแกผูบริโภคทั้งมีหนาราน

                       เปนสถานที่จัดจําหนาย เชน หางราน หางสรรพสินคา ซุปเปอรสโตร รานสะดวกซื้อ และการขายที่

                       ไมมีหนาราน เชน การขายผานสื่ออิเล็กทรอนิกส
                                     3. กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม คือการพัฒนาอาชีพที่อาศัยองคความรู

                       เทคโนโลยี/นวัตกรรม อาชีพเกี่ยวกับงานชาง ซึ่งไดแก ชางไฟฟา ชางไม ชางยนต ชางประปา ชางปูน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42