Page 38 - พัฒนาสังและชุมชน
P. 38

33



                       และชางเชื่อม ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศ และตางประเทศ และศักยภาพ

                       หลักของพื้นที่ เชน ผูผลิตชิ้นสวนอิเลคทรอนิกสเครื่องใชไฟฟา หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส
                       โดยทั่วไป  เชน IC PCB  ผูประกอบรถยนตและยานยนตประเภทตาง ๆ  ผูผลิต ตัวแทนจําหนายหรือ

                       ผูประกอบชิ้นสวนหรืออะไหลรถยนต ผูใหบริการซอมบํารุงรถยนต ผูจัดจําหนายและศูนยจําหนาย

                       รถยนตทั้งมือหนึ่งมือสอง ผูผลิตและจําหนายเครื่องจักรและเครื่องมือทุกชนิด เชน เครื่องจักรกลหนัก
                       เครื่องจักรกลเบา ผลิตอุปกรณหรือสวนประกอบพื้นฐานของเครื่องใชไฟฟาตาง ๆ เชน สายไฟ

                       หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา มอเตอรตาง ๆ การผลิตอลูมิเนียม ผลิตและตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑเหล็ก

                       สแตนเลส ผูผลิตจําหนายวัสดุกอสราง วัสดุตกแตง สุขภัณฑ การกอสราง อาคาร หรือที่อยูอาศัย

                                     4.  กลุมอาชีพใหมดานความคิดสรางสรรค ทามกลางกระแสการแขงขันของโลก
                       ธุรกิจที่ไรพรมแดน และการพัฒนาอยางกาวกระโดดของเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคม

                       การแลกเปลี่ยนสินคาจากที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่ที่อยูหางไกลนั้นเปนเรื่องงายในปจจุบัน เมื่อ

                       ขอจํากัดของการขามพรมแดนมิใชอุปสรรคทางการคาตอไปจึงทําใหผูบริโภคหรือผูซื้อมีสิทธิเลือก

                       สินคาใหมไดอยางเสรีทั้งในดานคุณภาพและราคา ซึ่งการเรียนรูและพัฒนาสินคาและบริการตาง ๆ
                       ที่มีอยูในตลาดอยูแลวในยุคโลกไรพรมแดนกระทําไดงาย ประเทศที่มีตนทุนการผลิตต่ํา เชน

                       ประเทศจีน อินเดีย เวียดนาม และประเทศในกลุมยุโรปตะวันออก จะมีความไดเปรียบในการแขงขัน

                       ดานราคา ดวยเหตุนี้ประเทศผูนําทางเศรษฐกิจหลายประเทศจึงหันมาสงเสริมการดําเนินนโยบาย
                       เศรษฐกิจสรางสรรคเพื่อพัฒนาสินคาและบริการใหม ๆ และหลีกเลี่ยงการผลิตสินคาที่ตองตอสูดาน

                       ราคา โดยหลักการของเศรษฐกิจสรางสรรคคือแนวคิดหรือแนวปฏิบัติที่สราง/เพิ่มมูลคาของสินคา

                       และบริการไดโดยไมตองใชทรัพยากรมากนัก แตใชความคิด สติปญญา และความสรางสรรคให
                       มากขึ้น

                                     ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)

                       ไดกําหนดยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเจริญเติบโตอยางคุณภาพและยั่งยืน ให
                       ความสําคัญกับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรคและภูมิปญญา

                       ภายใตปจจัยสนับสนุนที่เอื้ออํานวยและระบบการแขงขันที่เปนธรรมเพื่อสรางภูมิคุมกันใหกับ

                       ประเทศ มุงปรับโครงสรางและการลงทุนใหสอดคลองกับความตองการของตลาดทั้งภายในและ

                       ตางประเทศ สรางมูลคาเพิ่มใหกับสาขาบริการที่มีศักยภาพบนพื้นฐานของนวัตกรรมและความคิด
                       สรางสรรค พัฒนาธุรกิจสรางสรรคและเมืองสรางสรรค เพิ่มผลิตภาพของภาคเกษตรและสราง

                       มูลคาเพิ่มดวยเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู

                       อุตสาหกรรมฐานความรูเชิงสรางสรรคและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและ

                       ระบบโลจิสติกส สรางความมั่นคงดานพลังงานควบคูไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบตาง  ๆ
                       ทางเศรษฐกิจ และการบริหารจัดการเศรษฐกิจสวนรวมอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหเปนฐานเศรษฐกิจ

                       ของประเทศที่เขมแข็งและขยายตัวอยางมีคุณภาพ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43