Page 13 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 13

๔




                          เนื่องจากเด็กเหลานี้ มีความเสี่ยงตอการกระทําความผิด หรืออาจถูกชักนําไปกระทํา
              ความผิดไดงาย ขณะเดียวกันเด็กเหลานี้ก็อาจถูกลวงละเมิดจากบุคคลอื่นไดงายเชนกัน เจาพนักงาน

              ตํารวจซึ่งปฏิบัติงานและพบเห็นเด็กเหลานี้ ควรจะใหความสําคัญในการสรางสัมพันธภาพกับเด็ก
              เหลานี้ เพื่อเปนการปองกันมิใหเด็กเหลานี้ถูกลวงละเมิดหรือตกเปนผูกระทําความผิดในอนาคต


              ¡ÒÃÊÌҧÊÑÁ¾Ñ¹¸ÀÒ¾¡Ñºà´ç¡ËÃ×ÍàÂÒǪ¹

                          การสรางความสัมพันธภาพกับเด็กเปนสิ่งสําคัญมาก เพราะเจาพนักงานตํารวจจะไดรับ
              ความรวมมือจากเด็กหรือไม อยูที่สัมพันธภาพที่มีตอกัน ในการสรางสัมพันธภาพควรจะตองเริ่มจาก

                          ๑.  เจาพนักงานตํารวจจะตองเขาใจสภาพของเด็กเหลานี้ดวย อยาปลอยใหความรูสึก
              หรืออคติสวนตัวมามีผลตอการปฏิบัติงาน เนื่องจากเหตุผลดานเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ อายุ
              หรือทัศนคติของเด็ก เพราะเด็กเหลานี้เปนกลุมที่ีมีความออนแอเพราะเหตุสภาพรางกาย สุขภาพ
              ความเจ็บปวย ความพิการ สติปญญา ตลอดจนภูมิหลังทางสังคมที่เลวรายที่เขาประสบมา ซึ่งทําให

              การสรางความสัมพันธภาพอาจจะตองใชเวลาจนกวาเด็กๆ เหลานี้จะใหความไววางใจ
                          ๒.  สิ่งที่ตองตระหนัก คือ ขอมูลที่ไดจากเด็กๆ เหลานี้ อาจไมถูกตองทั้งหมด เด็กจะมี

              พฤติกรรมในการกาวราว ตอตาน เพื่อความจําเปนในการอยูรอดของเขา อยาพิจารณาเด็กในดานลบ
              เพียงอยางเดียว จะตองพิจารณาในดานบวกดวย เพื่อจะไดเขาใจในวิถีชีวิตของเขาและจะทําให
              สัมพันธภาพนั้นนานขึ้น
                          ๓.  ควรจะตองเริ่มตนการสรางสัมพันธภาพในเรื่องที่เด็กสนใจ เชน เรื่องกีฬากับที่เด็ก

              เลนกีฬาอยูเปนประจํา เปดใจในการรับฟงสิ่งที่เด็กพูดหรือเลาดวยความอดทนอยาเรงรีบ ใชศัพททั่วๆ ไป
              ที่เด็กเขาใจหรือใชศัพทที่เด็กๆ ใชพูดคุยกัน อยาใชศัพทที่เกี่ยวกับอาชีพตํารวจซึ่งเด็กอาจไมเขาใจ

              หาขอมูลของเด็กจากสภาพแวดลอม คนรอบขาง เพื่อใหทราบถึงภูมิหลังของเด็กกอนที่จะเขาถึงตัวเด็ก
              เพราะหากเขาถึงตัวเด็กเลย เขาอาจปฏิเสธในการสรางความสัมพันธกับเขาได
                          ๔.  แสดงความขอบคุณเด็กที่ใหความรวมมือ และแสดงความชื่นชมเด็กวาทําไดดี
              ในการใหขอมูลที่เปนประโยชน

                          ๕.  การวางตัวและการแสดงทาทางขณะที่ทําการพูดคุยกับเด็กมีความสําคัญมาก
              ตอการยอมรับหรือเปดใจของเด็ก ควรจะตองแสดงความเปนกันเอง อยาแสดงอาการของการ

              มีอํานาจเหนือตัวเด็ก เชน การยืนกอดอกพูดกับเด็กที่นั่งอยูที่พื้น โดยใชคําพูดในลักษณะของการสั่งการ
              ใหเด็กทําหรือพูด แตควรจะพูดดวยนํ้าเสียงที่เปนกันเอง แนะนําและอธิบายเกี่ยวกับตนเอง ดวยภาษา
              งายๆ นั่งอยูในระดับเดียวกับเด็กที่จะพูดคุยดวย

                          ๖.  จะตองตระหนักวา เด็กๆ เหลานี้เติบโตมาอยางโดดเดี่ยว ขาดการเอาใจใส
              การพัฒนาดานอารมณและศีลธรรมของพวกเขาจะไมสมดุล ซึ่งอาจทําใหเด็กเหลานี้ไมเขาใจวาสิ่งใดผิด
              สิ่งใดถูก ไมเขาใจกลไกของความยุติธรรม ไมเขาใจถึงความเกี่ยวพันในสิ่งที่ไดกระทําลงไปวาสงผล

              กระทบตอตนเองหรือผูอื่นอยางไร ดังนั้น จึงตองอาศัยความอดทนและความสมํ่าเสมอในการสราง
              ความสัมพันธกับเด็กๆ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18