Page 14 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 14

๕




                             ๗.  เขาใจในเรื่องพัฒนาการของเด็กในดานตางๆ ทั้งดานรางกาย ความคิด อารมณ
                 และศีลธรรม วาเด็กในกลุมนี้จะมีการพัฒนาการในดานตางๆ ไมเหมือนกับเด็กทั่วๆ ไปที่ไดรับ

                 การเลี้ยงดูเอาใจใสจากครอบครัว ซึ่งเด็กเหลานี้ อาจมีรางกายไมสมบูรณ กระบวนการการรับรู
                 ความเขาใจ การมีเหตุผล การแกปญหาและการตัดสินใจที่แตกตางกับเด็กทั่วไปที่อยูในวัยเดียวกัน การเรียนรู
                 ที่จะควบคุมอารมณของตนมีนอย และจากสภาพแวดลอมที่เด็กเปนอยู ทําใหกระบวนการรับรูอะไรถูก
                 อะไรผิด ทางดานศีลธรรมมีนอยกวาปกติ เปนตน

                             ๘.  เก็บขอมูลของเด็กๆ ที่เจาพนักงานตํารวจไปสรางสัมพันธภาพนั้นไว เชน รูปราง
                 ลักษณะ และขอสังเกตในระหวางการพูดคุย วาเด็กนั้นมีความสนใจในเรื่องอะไร มีความสามารถพิเศษ

                 อะไรบาง กิจกรรมที่เด็กชอบ เหลานี้จะไดนําไปเปนขอมูลในการปกปองและคุมครองเด็กกลุมเสี่ยง
                 เหลานี้ไดตอไป


                 ÊÒàËμØáË‹§¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´¢Í§à´ç¡

                             ในกรณีที่เด็กหรือเยาวชนกระทําความผิดเชนนั้น เจาพนักงานตํารวจจะตัดสินเด็ก
                 หรือเยาวชนที่ตองหาวากระทําผิดจากเหตุการณที่เกิดขึ้นนั้นเพียงอยางเดียวไมได เจาพนักงานตํารวจ

                 ควรจะตองใหความสําคัญของภูมิหลัง และสภาพสังคมแวดลอมของเด็กดวยวาทําไมเด็กหรือเยาวชน
                 ไดกระทําความผิดโดยแยกเปน
                             ÊÒàËμبҡÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁÀÒ¹͡μÑÇà´ç¡
                             ๑.  ครอบครัว หรือชุมชน จากการศึกษาวิจัยพบวา ประวัติการกระทําผิดของพอ

                 จะทําใหบุตรมีโอกาสกระทําผิดรายแรงได เมื่อเปรียบเทียบกับครอบครัวที่ไมมีการกระทําผิดของพอ
                 การทารุณกรรมและละเลยเด็ก จะสัมพันธกับการมีพฤติกรรมรุนแรงตอมา แตระดับของความรุนแรง

                 ขึ้นอยูกับลักษณะของการทารุณกรรม เชน เด็กที่ถูกทํารายทางรางกายจะมีการกระทําผิดรุนแรงบาง
                 เล็กนอย ในขณะที่เด็กที่ถูกละเลยทอดทิ้งจะกระทําผิดรุนแรงมากกวา การจัดการที่ไมเหมาะสมของ
                 ครอบครัว ครอบครัวที่ขาดการตั้งเปาหมายพฤติกรรมที่ชัดเจน ขาดการควบคุมดูแล มีระเบียบวินัย
                 ที่เขมงวดหรือไมแนนอน และขาดทักษะการเปนพอแม เปนปจจัยที่กอใหเกิดความรุนแรงในเด็กได

                 การขาดการมีสวนรวมของเด็กและพอแมทําใหเด็กมีพฤติกรรมรุนแรง เชน พอแมที่ไมเขาไปมีสวนรวม
                 ในการศึกษาของลูก พอที่ไมเขารวมในกิจกรรมยามวางของบุตรชาย และการไมสื่อสารกันระหวาง

                 พอแมกับลูกในวัยรุน ความขัดแยงในครอบครัว การแสดงออกซึ่งความขัดแยงอยางรุนแรงในชีวิตครอบครัว
                 จะเพิ่มความเสี่ยงตอการมีพฤติกรรมรุนแรงของบุตร โดยเฉพาะหากแสดงความขัดแยงใหบุตรที่อยู
                 ในชวงอายุ ๑๔ ถึง ๑๖ ป เห็นจะทําใหเพิ่มพฤติกรรมรุนแรงเมื่ออายุ ๑๘ ป การถูกแยกจากพอแม

                 ความสัมพันธที่ไมดีระหวางบุตรกับพอแมจะทําใหพฤติกรรมรุนแรงมากขึ้น โดยพบวาเมื่อเด็กชาย
                 มีปญหากับพอแมตั้งแตอายุกอน ๑๐ ขวบ หรือลูกออกจากบานกอนอายุ ๑๖ ป จะมีโอกาสเสี่ยง
                 ยิ่งขึ้น การมีพี่นองที่กระทําความผิดจะเพิ่มความเสี่ยงตอการมีพฤติกรรมรุนแรง พบวาเด็กอายุ ๑๐ ขวบ

                 ที่มีพี่นองกระทําผิดจะเพิ่มความเสี่ยงตอพฤติกรรมรุนแรง เพราะพี่นองที่กระทําความผิดจะมี
                 ความสัมพันธอยางมากกับการมีพฤติกรรมรุนแรงในวัยรุน โดยเฉพาะจะมีอิทธิพลสูงตอหญิงมากกวาชาย
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19