Page 19 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 19

๑๐




                          และจากที่ประเทศไทยเขาเปนภาคี ในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฯ นี้ จึงทําใหประเทศไทย
              จะตองนําหลักเกณฑซึ่งอนุสัญญาฉบับนี้มาปรับกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวกับเด็ก เพื่อให

              สอดคลองกับสาระสําคัญในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก

              ͹ØÊÑÞÞÒÇ‹Ò´ŒÇÂÊÔ·¸Ôà´ç¡
                          ในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ไดนิยามความหมายคําวา “เด็ก” ไววา

                          “เด็ก” หมายถึง มนุษยทุกคนที่อายุตํ่ากวา ๑๘ ป เวนแตจะบรรลุนิติภาวะกอนหนานั้น
              ตามกฎหมายที่ใชบังคับแกเด็กนั้น (อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ขอ ๑)

                          อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child 1989)
                          ไดกําหนดในภาครัฐและภาคสังคมไดตระหนักถึงความสําคัญของเด็กเพื่อจะนําไปสูการ
              ปฏิบัติมีจํานวนทั้งหมด ๕๔ ขอ ซึ่งแบงเปน ๓ สวน คือ
                          สวนที่ ๑  เริ่มจากขอ ๑ ถึงขอ ๔๑ วาดวยหลักการและเนื้อหาเกี่ยวกับสิทธิที่เด็ก

              พึงจะไดรับ โดยเนนหลักพื้นฐาน ๔ ประการ กลาวคือ
                          ๑)  หามเลือกปฏิบัติตอเด็กและการใหความสําคัญแกเด็กทุกคนอยางเทาเทียมกัน

              โดยไมคํานึงถึงความแตกตางของเด็กในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทาง
              การเมือง ชาติพันธุ หรือสังคม ทรัพยสิน ความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะอื่นๆ ของเด็ก
              หรือบิดามารดา หรือผูปกครองทางกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อใหเด็กมีโอกาสที่เทาเทียมกัน
                          ๒)  การกระทําหรือการดําเนินการทั้งหลายตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดเปนอันดับแรก

                          ๓)  สิทธิในการมีชีวิต การอยูรอด และการพัฒนาทางดานจิตใจ อารมณ สังคม
                          ๔)  สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของเด็ก และการใหความสําคัญกับความคิดเห็นเหลานั้น

                          (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน, ๒๕๕๔)
                          สวนที่ ๒  เริ่มจากขอที่ ๔๒ ถึงขอที่ ๔๕ เปนขอกําหนด เปนหลักเกณฑและแบบพิธี
              ซึ่งประเทศใหสัตยาบันแกอนุสัญญานี้ตองปฏิบัติตาม
                          สวนที่ ๓  เริ่มจากขอที่  ๔๖  ถึงขอที่  ๕๔  เปนขอกําหนดวิธีการสอดสองดูแล

              การปฏิบัติตามอนุสัญญา และกําหนดเงื่อนไขตางๆ ในการบังคับใช



                          สําหรับสาระสําคัญที่เด็กพึงจะไดรับตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กนั้น พอสรุปไดเปน
              ๖ หลักการ ดังนี้
                          ñ. ËÅÑ¡¡Ò÷ÑèÇä»  เปนการคุมครองสิทธิเสรีภาพทั่ว ๆ ไปในแงทั้งสวนบุคคล

              การแสดงความเห็น ศาสนา วัฒนธรรม ความเสมอภาคภายใตกฎหมายเดียวกัน การศึกษาและอื่นๆ
              นอกจากนั้น เปนสวนที่เกี่ยวกับการคุมครองดูแลเด็กโดยทั่วไป โดยกําหนดไวในรูปหลักพึงปฏิบัติของรัฐภาคี
              อยางไรก็ตามมีบทบัญญัติที่ตัดปญหาผลกระทบทางลบในการบังคับในอนุสัญญานี้ปดทายไววาอนุสัญญานี้

              ไมมีผลทําใหเด็กไดรับความคุมครองนอยไปกวาที่เขามีอยูตามกฎหมายอื่นๆ สาระสําคัญของหลักนี้
              อยูในขอ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๒๕ ๓๐ ๓๘ และขอ ๔๑
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24