Page 18 - 18_การปฏบตตอเดก เยาวชน สตร_Neat
P. 18

๙


                                                       º··Õè ò



                                                 ¡Òä،Á¤ÃͧÊÔ·¸Ôà´ç¡



                 ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

                             ๑.  เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจ มีความเขาใจในการคุมครองสิทธิเด็กตามอนุสัญญา

                 วาดวยสิทธิเด็ก
                             ๒.  เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจ มีความเขาใจ กฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการคุมครอง

                 สิทธิเด็กในประเทศไทย
                                  ๒.๑  การคุมครองสิทธิเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา
                                  ๒.๒  การคุมครองสิทธิเด็กตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

                                  ๒.๓  พระราชบัญญัติคุมครองเด็กฯ
                                  ๒.๔  พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน

                 และครอบครัวฯ
                                  ๒.๕  การคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชนตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน

                                  เพื่อใหการปฏิบัติงานตามบทบาทและอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจไดอยาง
                 ถูกตองเหมาะสมตอไป


                 º·นํา
                             จากอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฯ “เด็กโดยเหตุที่ยังไมเติบโตเต็มที่ทั้งรางกายและจิตใจ

                 จึงตองการพิทักษและดูแลเปนพิเศษ รวมถึงตองการการคุมครองทางกฎหมายที่เหมาะสมทั้งกอน
                 และหลังเกิด” และสหประชาชาติไดประกาศในปฏิญญาสากลดวยวา เด็กมีสิทธิที่จะไดรับการดูแล
                 และการชวยเหลือเปนพิเศษ ประเทศไทยไดเขาเปนภาคี ในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เมื่อวันที่

                 ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๕ และมีผลบังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๕ ประเทศไทย
                 จึงตองนําหลักเกณฑ ซึ่งอนุสัญญาฉบับนี้มาปรับกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวกับเด็กเพื่อใหสอดคลอง
                 กับสาระสําคัญในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก

                             จากอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฯ ในสวนอารัมภบทที่กลาววา “เด็กโดยเหตุที่ยังไมเติบโต
                 เต็มที่ทั้งรางกายและจิตใจ จึงตองการการพิทักษและดูแลเปนพิเศษ รวมถึงตองการการคุมครอง
                 ทางกฎหมายที่เหมาะสมทั้งกอนและหลังการเกิด” และสหประชาชาติไดประกาศในปฏิญญาสากล

                 ดวยวา เด็กมีสิทธิที่จะไดรับการดูแลและการชวยเหลือเปนพิเศษ
                             สําหรับประเทศไทยไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก โดยการภาคอนุวัติ (คือการ
                 ใหความยินยอมของรัฐ เพื่อเขาผูกพันตามสนธิสัญญา ซึ่งจะใชในกรณีที่่รัฐนั้นมิไดเขารวมในการเจรจา

                 ทําสนธิสัญญาและมิไดลงนามในสนธิสัญญานั้นมากอน) เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๕ และมีผล
                 บังคับกับประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๕
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23