Page 54 - หลักการตลาด
P. 54
• ถ้าราคาตลาดสูงกว่าต้นทุนการผลิต ผู้ผลิตก็ไม่สามารถอยู่ได้ อาจต้องออกจากระบบการผลิต และหากมีก าไร
ผู้ผลิตรายใหม่ๆก็อยากเข้ามา
การตั้งราคาตามต้นทุน
การตั้งราคาตามต้นทุน
• เป็นวิธีการที่นิยม ผู้ผลิตจะคิดต้นทุนทั้งหมดและบวกก าไรที่ต้องการ เช่นหากต้นทุน 100 บาท ต้องการก าไร
20% ดังนั้นก็จะตั้งราคาขาย 120 บาท
• ราคาขายที่ตั้งนั้นต้องไม่สูงกว่าราคาที่ซื้อขายอยู่ในตลาด ถ้าอยู่สูงกว่าราคาตลาด ผู้ผลิตต้องหาหนทางคือ
• เพิ่มปริมาณผลผลิต เพื่อให้ต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อหน่วยถูกลง ( Why ? ) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ลด
อัตราผลก าไรที่ต้องการ สร้างความแตกต่างได้ไม่ต้องเทียบกับคนอื่น
การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกัน
การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกัน
• สินค้าชนิดเดียวกันแต่อาจปรับปรุงคุณสมบัติ หรือข้อก าหนดบางประการ แล้วแยกตลาดในการก าหนดราคา
เช่น สายการบินที่มีชั้น First Class, Business Class, Economy Class หรือ การตั้งราคาไฟฟ้าที่ต่างกัน
ระหว่างครัวเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม หรือ การก าหนดราคาตั๋วตามอายุ เช่นกรณีของบัตรรถไฟฟ้า หรือ
การขายของที่มาจากกโรงงานเดียวกันในราคาที่ต่างๆกัน
• เป็นการน าเรื่องความยืดหยุ่นมาใช้ ตั้งราคาสูงในตลาดที่มี Ed สูง เพื่อให้รายรับรวมมากขึ้น แต่ต้องแบ่งตลาด
ให้ดีเพรสะมีการขนสินค้าข้ามตลาด
การตั้งราคาตามรุ่นหรือรูปแบบสินค้า
การตั้งราคาตามรุ่นหรือรูปแบบสินค้า
วิธีการนี้ใช้กับสินค้าที่มีความทันสมัย เพราะ จะมีรุ่นใหม่ๆออกมาประจ าและอาจเกิดการตกรุ่นได้
และราคาของสินค้าที่ตกรุ่นก็จะมีราคาที่ค่ ากว่าสินค้าที่ไม่ตกรุ่น
ผู้ผลิตอาจตั้งราคาสินค้าโดยมีการปรับเปลี่ยนคุณภาพสินค้า เช่น โทรศัพท์มือถือ ที่มีตั้งแต่รุ่น
3210 3310 8210 8250 หรือการผลิตรถ เช่น S - Class , C - Class, V - Class
สินค้าเหล่านี้มีกระบวนการผลิตที่ร่วมกัน ใช้ทรัพยากรแบบเดียวกัน เพียงแต่ดัดแปลงบางอย่าง
เท่านั้น ซึ่งอาจท าให้ประหยัดต่อขนาดได้
กลับสารบัญ