Page 28 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
P. 28
ยาและสมุนไพร
ควรท�ำอย่ำงไร... ถ้ำจ�ำเป็นต้องกิน
ยำปฏิชีวนะ
ศิริภัทร เฑียรกุล
เภสัชกรปฏิบัติการ
กองเภสัชกรรม
ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ยาปฏิชีวนะ เป็นยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ไม่มีฤทธิ์ลดการอักเสบ เช่น เพนนิซิลิน อะม็อกซีซิลลิน เป็นต้น
ส่วนยาแก้อักเสบหรือยาต้านการอักเสบ เป็นยาที่มีฤทธิ์ลดการอักเสบ ลดไข้ บรรเทาอาการปวด ลดบวม ไม่มีฤทธิ์ฆ่า
เชื้อแบคทีเรีย เช่น ไอบูโพรเฟน แอสไพริน เป็นต้น คนส่วนใหญ่มักเรียก ยาปฏิชีวนะ ผิดว่าเป็น ยาแก้อักเสบ
เพราะเมื่อติดเชื้อแบคทีเรียแล้วกินยาปฏิชีวนะ ยาปฏิชีวนะจะไปฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรค เมื่อเชื้อตายไป
อาการอักเสบจะลดลง
การกินยาปฏิชีวนะให้ได้ผลดี ควรกินติดต่อกันให้ครบตามที่แพทย์หรือเภสัชกรแนะน�า หากหยุดกินยาปฏิชีวนะ
ก่อนครบก�าหนดหรือกินยาไม่สม�่าเสมอ จะท�าให้ปริมาณยาในร่างกายไม่เพียงพอที่จะก�าจัดเชื้อต่างๆ ให้หายขาด
เชื้อจะแบ่งตัวเพิ่มจ�านวน เกิดการเป็นซ�้า เและเสี่ยงต่อการติดเชื้อใหม่ได้สูง หรืออาจท�าให้เกิดการดื้อยาได้
ปัจจุบันมีการรณรงค์ 3 โรค ที่หายเองได้ โรคและบริเวณที่ติดเชื้อได้อย่างเหมาะสม รวมไปถึง
โดยไม่ต้องพึ่งยาปฏิชีวนะ ได้แก่ การซักประวัติเกี่ยวกับการแพ้ยาและเลือกชนิดของ
1. โรคหวัด-เจ็บคอ การพักผ่อนและท�าร่างกาย ยาปฏิชีวนะที่จะไม่ท�าให้เกิดการแพ้ซ�้าได้
ให้อบอุ่น ช่วยท�าให้ภูมิคุ้มกันโรคของร่างกายแข็งแรง เชื้อส่วนใหญ่จะเป็นเชื้อธรรมดาที่ไม่ดื้อยา
ท�าให้หายป่วยเร็วขึ้น แต่จะมีเชื้อแบคทีเรียจ�านวนหนึ่งที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
2. โรคท้องเสีย 99% เกิดจากเชื้อไวรัส อาหาร ทางพันธุกรรม ส่งผลให้เชื้อเกิดการดื้อยาขึ้น การใช้ยา
เป็นพิษ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ย่อยยากและนม การดื่ม ชนิดเดิมหรือขนาดเดิมไม่สามารถที่จะใช้รักษาได้
น�้าเกลือแร่ช่วยให้หายได้ อาจต้องเพิ่มขนาดยาหรือระยะเวลาในการรักษาหรือ
3. แผลเลือดออก ที่เกิดจากมีดบาด แผลถลอก แม้กระทั่งต้องเปลี่ยนชนิดของยาฆ่าเชื้อเป็นยาฆ่าเชื้อ
ถ้าท�าความสะอาดอย่างถูกวิธีและป้องกันไม่ให้แผล กลุ่มอื่นแทน ซึ่งอาจเป็นยากลุ่มที่ควรจะเก็บไว้ใช้ส�าหรับ
โดนน�้า แผลก็จะหายเองได้ การติดเชื้อที่รุนแรง ท�าให้ในอนาคตหากเกิดการติดเชื้อ
การกินยาปฏิชีวนะอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อ ที่รุนแรงจะท�าให้โอกาสที่เชื้อจะดื้อยาตัวใหม่เพิ่มขึ้น
การดื้อยาได้ ดังนั้น หากเกิดอาการเจ็บป่วย ไม่ควร และยังท�าให้เหลือจ�านวนตัวเลือกยาฆ่าเชื้อที่มี
หายามากินเองหรือกินยาปฏิชีวนะของคนอื่น เพราะ ประสิทธิภาพในการรักษาน้อยลง นอกจากนี้การได้รับ
ชนิดของยาที่เหมาะสมในการรักษาอาจไม่เหมือนกัน ยาฆ่าเชื้อในอาการหรือโรคที่ไม่ได้มีการติดเชื้อ
ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร เพื่อให้ช่วยประเมินอาการ แบคทีเรียเป็นการใช้ยาฆ่าเชื้อที่
และความจ�าเป็นในการใช้ยาปฏิชีวนะ หากอาการหรือโรค ไม่เหมาะสมจะเป็นสาเหตุหนึ่ง
ที่เป็นมีความจ�าเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะจริง แพทย์หรือ ของการดื้อยาได้เช่นกัน
เภสัชกรจะสามารถเลือกชนิดของยาปฏิชีวนะให้ตรงกับ
28 วารสารสุขภาพ
ส�านักอนามัย