Page 4 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
P. 4

4. มหานครกะทัดรัด ได้แก่ การปรับเปลี่ยน   ด�าเนินงานครอบคลุมภารกิจในการดูแลสุขภาพ
           โครงสร้างผังเมืองให้เป็น “มหานครกะทัดรัดและ   ประชาชนกรุงเทพมหานครครอบคลุม  4  มิติ  ได้แก่
           กระจายตัว”                                   การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การรักษา

                  5. มหานครแห่งประชาธิปไตย  ได้แก่      พยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพแก่ประชาชน  โดยบูรณาการ
           การเป็นประชาธิปไตยและมีธรรมาภิบาลที่มีชื่อเสียง   ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
           มีระบบการบริหารที่มีประสิทธิภาพ  และมีการเมือง   ภาคประชาสังคมและภาคประชาชนในการแก้ไขปัญหา
           ที่ปลอดคอร์รัปชั่น                           สุขภาพของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ดังนี้

                  6. มหานครแห่งเศรษฐกิจและการเรียนรู้          1.  การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อ
           ได้แก่  การเป็นเมืองเศรษฐกิจที่มีความส�าคัญรวมถึง   ให้เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน โรงเรียน และ
           เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิทยาการด้านต่างๆ ในระดับ  สถานประกอบการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร  ได้รับ

           ภูมิภาคและนานาชาติ                           การบ�าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
                                                        สนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์  เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ
           กรุงเทพมหานคร มีแนวทาง                       กลุ่มเป้าหมาย  รวมทั้งเป็นศูนย์ข้อมูลด้านยาเสพติด
           ในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างไร                 ด�าเนินการค้นหา  ชักจูง  ผู้เสพผู้ติดยาเสพติดให้เข้ารับ

           ภายใต้ “วิสัยทัศน์กรุงเทพฯ 2575”             การบ�าบัดรักษาในระบบด้วยความสมัครใจ และติดตาม
                                                        ดูแลช่วยเหลือผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดที่ผ่านการบ�าบัดรักษา

                  กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงที่มีความเป็น
           พลวัตร  และเป็นศูนย์กลางความเจริญทั้งในด้านเศรษฐกิจ

           การศึกษา การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ท�าให้
           มีประชากรเข้ามาอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น  ท่ามกลาง
           การพัฒนาและการเจริญเติบโตของเมืองและ
           สังคมผู้สูงอายุ  ประกอบกับกรุงเทพมหานครได้ก�าหนด      2.  การจัดสวัสดิการด้านอุปกรณ์ช่วยเหลือ

           วิสัยทัศน์การพัฒนาไปสู่มหานครแห่งเอเชีย  ด้วยเหตุนี้   ทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบ
           จึงจ�าเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมและพัฒนา   ปัญหาทางการเคลื่อนไหวที่ยังเข้าไม่ถึงบริการ  และ
           ในหลายด้านเพื่อป้องกันผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการ   มีความจ�าเป็นต้องได้รับการสงเคราะห์ในพื้นที่
           เปลี่ยนแปลงวิถีการด�าเนินชีวิต  ปัญหาโรคคนเมือง   กรุงเทพมหานคร  ให้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทาง

           โรคติดต่อ  โรคอุบัติใหม่และเก่า  ซึ่งนโยบายของ   การเคลื่อนไหวตามความจ�าเป็น  เพื่อให้สามารถด�ารงชีวิต
           ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  (พลต�ารวจเอกอัศวิน    ได้ใกล้เคียงปกติและจัดบริการช่องทางด่วนพิเศษ
           ขวัญเมือง)  ด้านคุณภาพชีวิต  เป็น  1  ใน  5  นโยบาย   ในการให้บริการแก่ผู้สูงอายุและคนพิการแบบครบวงจร
           ทันใจ  ซึ่งเน้นการดูแลคุณภาพชีวิตประชาชน  เพิ่มความ   (Fast Track) ครบทั้ง 3 ระบบ ประกอบด้วย ระบบ

           สะดวกรวดเร็ว  และความใส่ใจเป็นพิเศษในการบริการ   เวชระเบียน ระบบการตรวจรักษา ระบบการจ่ายยา
           ทางการแพทย์และสาธารณสุข  โดยมีหน่วยงาน       ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ส�านักอนามัยทั้ง 68 แห่ง
           ที่รับผิดชอบหลัก ได้แก่ ส�านักอนามัย และส�านักการแพทย์
           ในส่วนของส�านักอนามัย  ประกอบด้วยส่วนราชการ

           ส�านักงาน และกอง รวม 13 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข
           68  แห่ง  และศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา  76  แห่ง



       4   วารสารสุขภาพ
           ส�านักอนามัย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9