Page 5 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
P. 5
3. การจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆ เพื่อให้ • เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขครอบคลุม ส�าคัญในพื้นที่กรุงเทพมหานครทั้งด้านการบริหารจัดการ
ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ส่วนกลาง และทีมงานที่ปฏิบัติงานเชิงพื้นที่ในการร่วมกัน
การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพ การป้องกันและ สอบสวน ควบคุมและจ�ากัดพื้นที่การแพร่ระบาดได้อย่าง
บ�าบัดการติดยาเสพติด การจัดการสุขาภิบาลเมืองและ มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม และรวดเร็ว
สิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชนอาทิ เช่น • จัดให้มีศูนย์ควบคุมและพักพิงสุนัขจรจัด
• พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยและ เพื่อเป็นสถานที่รองรับสุนัขจรจัดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านเพื่อให้มี เป็นการแก้ไขปัญหาสุนัขจรจัด ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ความรู้และทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล ให้สามารถ ตลอดจนแก้ปัญหาเหตุเดือดร้อนร�าคาญอันเนื่องมาจาก
ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง เสียงดังและทัศนียภาพไม่น่าดูจากสิ่งขับถ่ายของสุนัข
ที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• ด�าเนินงานแก้ไขปัญหาเอดส์ เพื่อมุ่งสู่ • ตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร ร่วมกับ
การลดผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ภาคีเครือข่าย เพื่อสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหาร
• ค้นหาผู้ป่วยวัณโรคทั้งการค้นหาเชิงรุก ที่สะอาด ปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
(Active case fiffiinding) ค้นหาเชิงรับ (Passive case fiffiinding) ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
และค้นหาผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงกลุ่มต่างๆ (Intensified case • ตรวจประเมินและรับรองมาตรฐาน
ffiinding) เพื่อน�าเข้าสู่ระบบการรักษาให้มากที่สุด ส้วมสะอาดตามเกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะ
• ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็ง ระดับประเทศใน 3 ด้าน คือ สะอาด เพียงพอ ปลอดภัย
ปากมดลูกในคลินิกวางแผนครอบครัวและหลังคลอด เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยจากโรคและสิ่งคุกคามที่เป็น
และคลินิกส่งเสริมสุขภาพวัยทอง ที่ศูนย์บริการสาธารณสุข อันตรายต่อสุขภาพจากการใช้ส้วมสาธารณะ
ส�านักอนามัย ทั้ง 68 แห่ง
• จัดหน่วยสาธารณสุขเคลื่อนที่ใน
ชุมชนให้บริการต่างๆ เช่น ตรวจรักษาโรคทั่วไป คัดกรอง
ความเสี่ยงสุขภาพ ประเมินภาวะสุขภาพจิต เอกซเรย์ปอด
ให้ความรู้ ค�าปรึกษาแนะน�าด้านสุขภาพแก่ประชาชน
เป็นต้น
การขับเคลื่อนผ่านมาตรการต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ จ�าเป็นต้องมีการบูรณาการจากทุกภาคส่วน
เพื่อให้การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขครอบคลุมประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยเน้นการพัฒนา
การด�าเนินงานควบคู่ไปกับการส่งเสริมความรู้ สร้างความตระหนักให้ประชาชนเห็นความส�าคัญและปฏิบัติตน
ในการสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอนามัยและการป้องกันโรคที่ถูกต้อง เพื่อก่อให้เกิดสุขภาพดีทั้งทางร่างกาย
และจิตใจ โดยเริ่มจากตนเอง และขยายผลไปยังครอบครัว บทสัมภาษณ์โดย ทรงพร วิทยานันท์
ชุมชน ตลอดจนสังคมเพื่อน�าไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี นักวิชาการสาธารณสุขช�านาญการ
ส�านักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อย่างยั่งยืนต่อไป ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร
วารสารสุขภาพ 5
ส�านักอนามัย