Page 79 - Annual Report 2551
P. 79

แนวทางการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ


             1. ความเป็นมา
                 ในช่วงก่อนประเทศไทยเกิดวิกฤตทางการเงินในปี           • ตลาดตราสารหนี้จะเป็นช่องทางในการระดมทุน

             พ.ศ. 2540  นักลงทุนส่วนใหญ่ระดมทุนผ่านทางตลาด             ของผู้ประกอบการ  นอกเหนือไปจากการขอ
             สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ และตลาดหลักทรัพย์                สินเชื่อจากธนาคารพาณิชย์  และการเพิ่มทุน

             ทำให้การระดมทุนผ่านตลาดทั้ง 2 แห่ง มีมูลค่าสูงมาก         ผ่านตลาดหลักทรัพย์

             คิดเป็นร้อยละ 101  และ 85  ของ GDP  ตามลำดับ
             ในขณะเดียวกัน  ก็ส่งผลให้ตลาดตราสารหนี้เป็นตลาด        สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ได้ทำการ

             ที่มีขนาดเล็ก และไม่ได้รับความสนใจจากนักลงทุน      ศึกษาแนวทางการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ
             โดยมีมูลค่าตลาด คิดเป็นร้อยละ 10 ของ GDP เท่านั้น  เพื่อให้เป็นแหล่งระดมทุนของภาครัฐและเอกชนที่มี

                                                                ประสิทธิภาพ  รวมทั้งการสร้างพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใช้
                 ดังนั้น  เพื่อเป็นการสร้างความแข็งแกร่งอย่างยั่งยืน  เป็นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

             ให้กับโครงสร้างพื้นฐานทางการเงินของประเทศไทย          1.1 ปัญหาของตลาดตราสารหนี้ไทย
             และเพื่อป้องกันการเกิดวิกฤตทางการเงินที่เคยเกิดขึ้น       สบน. ได้ทำการศึกษาปัญหาของตลาดตรา-

             เมื่อปี พ.ศ. 2540 รัฐบาลจำเป็นต้องสร้างความสมดุล   สารหนี้ไทยพบว่า ปัญหาของตลาดตราสารหนี้ไทย
             ให้เกิดขึ้นกับ 3 เสาหลักของตลาดทุนไทยได้แก่ตลาด-   ที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การขาดสภาพคล่องใน

    078 สินเชื่อ  ตลาดหลักทรัพย์  และตลาดตราสารหนี้  และ        ตลาดรอง โดย ณ สิ้นปี 2549 Annual Turnover Ratio

             เนื่องจากตลาดตราสารหนี้เป็นตลาดที่มีการพัฒนา       เฉพาะพันธบัตรรัฐบาลคิดเป็น 0.42 เท่า ซึ่งต่ำมาก
             น้อยที่สุด รัฐบาลจึงควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาตลาด  เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย

             ตราสารหนี้ในลำดับต้นๆ เพื่อให้ตลาดตราสารหนี้เป็น   เช่น  มาเลเซีย  และสิงคโปร์  ที่มี  Annual  Turnover
             ทางเลือกในการระดมทุน  และลงทุนที่มีประสิทธิภาพ     Ratio เท่ากับ 1.97 และ 2.59 เท่า ตามลำดับ ซึ่งสาเหตุ

             กล่าวคือ                                           ของการขาดสภาพคล่อง เกิดจากการที่พันธบัตร
                   • ตลาดตราสารหนี้จะเป็นทางเลือกของผู้ออม      รัฐบาลไทยมีจำนวนรุ่นที่มากเกินไป และขนาดของ

                     และนักลงทุน นอกเหนือจากการฝากเงินกับ       แต่ละรุ่นมีมูลค่าไม่สูงพอที่จะทำให้เกิดการซื้อขาย
                     ธนาคารพาณิชย์ และซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
                      PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
     PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
       สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84