Page 82 - Annual Report 2551
P. 82

3.2 ดัชนีชี้วัดสภาพคล่องในตลาดรองปรับตัวสูง

            ขึ้นทุกตัว

                   ปริมาณการซื้อขายในตลาดรอง (Volume                  การกระจุกตัวของอุปสงค์ใน Benchmark
            Trade)                                             Bond (demand concentration)

                   ในช่วง 11  เดือนแรกของปีงบประมาณ  พ.ศ.             จากการที่  สบน. ได้เพิ่มวงเงินการออกพันธบัตร
            2551 พันธบัตร Benchmark Bond รุ่น 5 ปี และ 10 ปี   Benchmark    Bond   รุ่นอายุ   5  ปี และ  10  ปี   ในปีงบประมาณ

            มีมูลค่าการซื้อขายในตลาดรองสูงที่สุดเป็นอันดับ 1   พ.ศ 2551 เป็นรุ่นละ 99,000 ล้านบาท และ 53,000
            และ  2  โดยมีมูลค่าเท่ากับ  264,806  และ  104,753   ล้านบาท ตามลำดับ เพื่อเพิ่มสภาพคล่อง   ในพันธบัตร

            ล้านบาท  ตามลำดับ  ซึ่งสูงขึ้นมากเมื่อเปรียบเทียบกับ  รุ่นดังกล่าว  ซึ่งกลยุทธ์ดังกล่าว  เป็นปัจจัยหลักให้
            พันธบัตรรุ่นที่มีการซื้อขายสูงสุดในปีงบประมาณ  พ.ศ.  นักลงทุนหันมาสนใจลงทุนและซื้อขายพันธบัตร

            2550 ซึ่งมียอดซื้อขายทั้งปี เท่ากับ 153,550 ล้านบาท  Benchmark Bond ทั้ง 2 รุ่น อย่างหนาแน่น ส่งผลให้
            อนึ่ง  พันธบัตร  Benchmark  Bond  ที่ออกในปี       เกิดการกระจุกตัวของการซื้อขายพันธบัตรทั้ง  2  รุ่น

            งบประมาณ พ.ศ. 2550 รุ่นอายุ 7 ปี และ 10 ปี มีการ   ในตลาดรอง กล่าวคือ Benchmark Bond รุ่นอายุ 5 ปี

            ซื้อขายรวมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นลำดับที่ 5    และ  10  ปี  มีสัดส่วนการซื้อขายในตลาดรองสูงถึง
            และ 7 ตามลำดับ (ตารางที่ 2.2)                      ร้อยละ 27.4 และ 10.8 ของยอดซื้อขายพันธบัตรรัฐบาล

                   ปริมาณการซื้อขายต่อยอดคงค้าง (Turnover      ในตลาดรองระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
            Ratio)                                             ตามลำดับ ซึ่งเป็นการกระจุกตัวของการซื้อขายพันธบัตร

                   พันธบัตร  Benchmark  Bond  รุ่นอายุ  5  ปี  รุ่นใดรุ่นหนึ่งสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ อนึ่ง ในปีงบประมาณ
            และ 10 ปี มีสภาพคล่องเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน เห็นได้จาก  พ.ศ. 2550 พันธบัตรที่มีการซื้อขายสูงสุด มีสัดส่วนตลาด

            Turnover Ratio ของพันธบัตรทั้ง 2 รุ่น อยู่ที่ 2.67 และ  เพียงร้อยละ  13.1  ของยอดซื้อขายพันธบัตรรัฐบาล
            2.44 เท่า ตามลำดับ โดยเพิ่มขึ้นจาก  Benchmark  Bond  ในตลาดรองระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2550

            รุ่นอายุ 7 ปี และ 10 ปี ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2550    (ตารางที่ 2.2)
            ซึ่งมี Turnover Ratio อยู่ที่ 1.74 และ 1.51 ตามลำดับ

            (ตารางที่ 2.2)

             ตารางที่ 2.2: ดัชนีวัดสภาพคล่องของพันธบัตร Benchmark Bond

                                                        ปีงปม. 2550                  ปีงปม. 2551

                                                 LB145A (อายุ 7 ปี)  LB175A (อายุ 10 ปี)  LB133A (อายุ 5 ปี)  LB183B (อายุ 10 ปี)
               ดัชนีชี้วัดในตลาดแรก
               BCR                                  2.10          1.59           2.20          1.69            081
               วงเงินประมูลในแต่ละครั้ง          5,000 - 6,000  5,000 - 6,000  10,000 - 15,000 5,000 - 10,000
               ดัชนีวัดสภาพคล่องในตลาดรอง
               ลำดับความนิยมในตลาดรอง                 5            7              1             2
               Turnover Ratio (เท่า)                 1.7          1.5            2.8           2.5

               สัดส่วนการซื้อขายพันธบัตรรัฐบาลในตลาดรอง  6.9%     5.7%          27.6%         10.8%
               ปริมาณการซื้อขายในตลาดรอง (บาท)   81,189,542,014  66,173,091,729  272,644,258,841  106,836,466,881  ANNUAL REPORT 2008  รายงานประจำปี 2551






        PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87