Page 80 - Annual Report 2551
P. 80
หมุนเวียนกันในตลาดรอง โดยเมื่อพิจารณาจากมูลค่า และสามารถสร้างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงให้กับตลาด
คงค้างของพันธบัตรรัฐบาลหลังหักมูลค่าของ ตราสารหนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ คืออยู่ระหว่าง
พันธบัตรออมทรัพย์และพันธบัตรที่มีอายุต่ำกว่า 60,000 - 100,000 ล้านบาท
3 ปีแล้ว พบว่ามีมูลค่าเฉลี่ยต่อรุ่นเท่ากับ 33,200 2.2 จำนวนรุ่นและอายุของพันธบัตร Benchmark
ล้านบาท ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศสิงคโปร์ที่มี Bond
มูลค่าคงค้างของพันธบัตรรัฐบาลเฉลี่ยต่อรุ่นประมาณ การกำหนดอายุของพันธบัตร Benchmark
84,000 ล้านบาท ทั้งที่ประเทศสิงคโปร์ไม่มีการ Bond ในแต่ละรุ่น ต้องคำนึงถึงความต้องการของ
ขาดดุลการคลังอย่างต่อเนื่องยาวนาน นักลงทุน เพื่อให้การกำหนดอายุของพันธบัตรรุ่นหนึ่ง
1.2 การออกพันธบัตรเพื่อสร้างอัตราดอกเบี้ย ไม่ส่งผลกระทบกับพันธบัตรอีกรุ่นหนึ่ง รวมทั้ง
อ้างอิง (Benchmark Bond) ในช่วงที่ผ่านมา เพื่อให้สามารถสร้างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงได้อย่างมี
สบน. ได้ดำเนินการออก Benchmark Bond ประสิทธิภาพ ดังนั้น การกำหนดรุ่นอายุของ Benchmark
อย่างเป็นระบบมาแล้ว 2 ปี (ปี 2549 - 2550) Bond จึงควรแบ่งตามความต้องการของตลาดอย่าง
โดยการออก Benchmark Bond ในช่วงที่ผ่านมาได้ เหมาะสม ซึ่งผลสำรวจจากทั้ง ADB และ IMF เห็นควร
กำหนดรุ่นอายุไว้ปีละ 2 รุ่น ได้แก่ รุ่นอายุ 7 ปี และ ให้กำหนดอายุของ Benchmark Bond ไว้ที่รุ่นอายุ
10 ปี มีการออกเป็นประจำทุกเดือนตลอดปีงบ- 5 10 15 และ 20 ปี
ประมาณครั้งละไม่ต่ำกว่า 4,000 ล้านบาท ต่อรุ่น สำหรับการกำหนดอายุของ Benchmark
ต่อเดือน ทำให้เมื่อสิ้นปีงบประมาณในแต่ละปี พันธบัตร Bond ไว้ที่ 7 ปี และ 10 ปี ใน 2 ปีที่ผ่านมาเกิดจาก
ทั้ง 2 รุ่นที่ออกในปีนั้นๆ จะมียอดคงค้างประมาณ ข้อจำกัดในขณะนั้น คือไม่สามารถออกพันธบัตรที่มี
48,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นระดับที่เพียงพอต่อการสร้าง อายุ 4 - 5 ปีได้ เนื่องจากการกระจุกตัวของภาระหนี้
อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงให้กับตลาดตราสารหนี้และมี ในปี พ.ศ. 2554 - 2555 ทำให้การออก Benchmark
ยอดคงค้างที่ไม่สูงเกินไปในการปรับโครงสร้างหนี้ Bond รุ่นอายุ 5 ปี จะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการ
เมื่อครบกำหนดชำระ ปรับโครงสร้างหนี้ของพันธบัตรในช่วงเวลาดังกล่าว
การออก Benchmark Bond ในรูปแบบดังกล่าว 2.3 ความถี่ในการประมูล
สามารถทำให้เกิดสภาพคล่องที่สูงขึ้น สังเกตได้จาก จากการรับฟังความคิดเห็นของจากผู้ร่วม
ยอดซื้อขายในตลาดรองที่เพิ่มขึ้นในช่วงระยะเวลา 2 ปี ตลาด พบว่า การกำหนดการประมูลพันธบัตรใน
ที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม Turnover Ratio ของตลาด ปัจจุบันมีความถี่ที่มากเกินไป กล่าวคือ มีการประมูล
พันธบัตรไทยยังคงอยู่ในระดับต่ำเมื่อเทียบกับสากล พันธบัตรเพื่อสร้างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงเดือนละ 1 ครั้ง
2. กลยุทธ์และแนวทางการออกพันธบัตร Benchmark ทุกรุ่นอายุ ซึ่งทำให้มีการประมูลพันธบัตรเพื่อสร้าง
Bond รูปแบบใหม่ อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงแบบสัปดาห์เว้นสัปดาห์ 079
2.1 วงเงินของพันธบัตร สบน. จึงได้ปรับเปลี่ยนการประมูล Benchmark
จากการหารือกับผู้ร่วมตลาด และผลการ Bond ให้มีการประมูลเดือนละครั้งตลอดปีงบประมาณ
ศึกษาของสถาบันการเงินระหว่างประเทศ เช่น ADB โดยประมูลรุ่นอายุ 5 ปี สลับกับรุ่นอายุ 10 ปี แต่ละรุ่น
และ IMF พบว่า ขนาดที่เหมาะสมของพันธบัตรที่จะ ประมูลแบบเดือนเว้นเดือน รุ่นละ 6 งวด
เป็น Benchmark Bond ที่มีสภาพคล่องในตลาดรอง ANNUAL REPORT 2008 รายงานประจำปี 2551
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE