Page 93 - Annual Report 2551
P. 93

แผนภาพที่ 1 โครงสร้างของแบบจำลองฯ




                                                     Assumption/Scenarios           Stochastic/Deterministic




                     1. Legacy           Debt Policy                    2. Financial                  Macro Variables
                     Outstanding            plans,                        Variables        i.e., GDP growth,
                      debt and          benchmarks &                  i.e., Exchange rates,    Inflation
                     commitments         assumptions                      Yield curve




                                                      3. Outcomes
                                                      • Debt/GDP
                                                      • Debt service/GDP
                                                      • Average interest rate
                                                      • ATM etc.




                 ที่มา : ส่วนนโยบายค้ำประกันและบริหารความเสี่ยง สำนักนโยบายและแผน




                    3. ผลลัพธ์ของแบบจำลองฯ (Outcomes)           ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันครั้งหนึ่ง
                    3.1  รายงานวิเคราะห์ความเสี่ยง (Exposure    (one-off  shock)  ของปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ  ต่อ

             Report)  ประกอบด้วย  ตัวชี้วัดความเสี่ยง  (Risk    Portfolio  ซึ่งการวิเคราะห์ดังกล่าวใช้ในสถานการณ์ที่มี
             Indicators)  ต่างๆ  เช่น Average Time to Maturity   การคาดการณ์ว่าในอนาคตตัวแปรบางตัวอาจเกิด

             (ATM), Basis-point analysis, Duration, Interest Rate   การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันขึ้น และต้องการพยากรณ์
             Sensitivity, FX sensitivity และ Repayment Profile   ความเป็นไปได้ของผลลัพธ์ในอนาคตที่ได้รับผลกระทบ

             เป็นต้น                                            จาก shock ดังกล่าว เช่น ความอ่อนไหวของ Portfolio
                    3.2  แบบจำลองฯ สามารถแสดงผลลัพธ์ของ         ในกรณีที่ปีหน้า  GDP  Growth  หดตัวลงอย่างรุนแรง

             การเปรียบเทียบสถานการณ์ระหว่างสมมติฐานต่างๆ        ซึ่งแบบจำลองจะสุ่มความน่าจะเป็นในช่วง  95%  ของ
             ในรูปแบบแผนภูมิและตาราง  โดยสามารถแสดงผลเป็น       GDP  Growth  ที่ประมวลได้จากสมการเศรษฐมิติ

             รายปัจจัย เช่น อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยดังแผนภาพที่ 2 หรือ   แล้วนำมาพยากรณ์ความอ่อนไหวของ Portifolio
    092      แสดงในรูปแบบสัดส่วนตัวเลขที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์   ที่อาจจะเกิดขึ้นจาก  negative  shock  ของ  GDP


             เชิงภาระหนี้  เช่น  ค่าพยากรณ์ผลลัพธ์หนี้ต่อ  GDP   Growth ที่กล่าว เช่น ผลกระทบต่ออัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย
             (Debt/GDP)                                         เมื่อ  GDP  growth  ลดลงอย่างฉับพลัน  ดังแสดงใน

                    3.3 แบบจำลองฯ ยังสามารถแสดงความ             แผนภาพที่ 3
             อ่อนไหวของผลลัพธ์ต่อปัจจัยเสี่ยง โดยอธิบาย










                      PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
     PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
       สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98