Page 92 - Annual Report 2551
P. 92
เริ่มด้วยการดึงข้อมูลภาระหนี้เดิมจากระบบบริหารหนี้ ทางเศรษฐกิจมหภาคและการเงินที่มีนัยสำคัญมา
สาธารณะ (GFMIS - TR : Government Fiscal ศึกษาแนวโน้มในอนาคต แบบจำลองฯ จะคำนวณ
Management Information Systems - TR) เข้าสู่ และคาดการณ์ตัวแปรโดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลา
ฐานข้อมูลของแบบจำลองฯ จากนั้น Users ก็จะกำหนด (Time series) ในอดีตมาคำนวณความสัมพันธ์ของตัวแปร
ข้อสมมติฐานและสถานการณ์ของการดำเนินนโยบาย ในรูปแบบสมการเศรษฐมิติแบบ Autoregressive Model
ในรูปแบบต่างๆ ขึ้นมา ซึ่งแบบจำลองฯ ได้จำแนกไว้ และนำสมการดังกล่าวมาใช้ในการพยากรณ์ผลลัพธ์
7 กลุ่มหนี้ คือ ในอีก15 - 20 ปีข้างหน้า ด้วยวิธี Stochastic Process
1. หนี้เงินกู้รัฐบาลเพื่อใช้จ่ายตามแผนการลงทุน ซึ่งเป็นการสุ่มค่าความคลาดเคลื่อนหลายๆ รอบ
2. หนี้เงินกู้รัฐบาลเพื่อชดใช้ความเสียหายของ โดยผลลัพธ์ที่ได้ออกมาจะเป็นค่าเฉลี่ย ค่าขอบเขตบน
กองทุนฟื้นฟูฯ และค่าขอบเขตล่างที่ระดับความเชื่อมั่น (Confidence
3. หนี้เงินกู้รัฐบาลเพื่อชดเชยการขาดดุล intervals) 95% ของแต่ละตัวแปร โดยสรุปวิธีการ
งบประมาณ คำนวณของแบบจำลองฯ ดังต่อไปนี้
4. หนี้เงินกู้รัฐบาลเพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ 2.1 ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาค (Macro
5. หนี้เงินกู้รัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลค้ำประกัน Variables) เช่น อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP
6. หนี้เงินกู้รัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลไม่ค้ำประกัน growth) และอัตราเงินเฟ้อ (Inflation) แบบจำลองฯ
7. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ พยากรณ์ตัวแปรต่างๆ โดยใช้สมการเศรษฐมิติ Autoregressive
แบบจำลองฯ ใช้หนี้คงค้างเดิมดังกล่าวมาใช้ใน Model : AR(1) process
การกำหนดสมมติฐานพื้นฐาน (Baseline scenario) 2.2 ตัวแปรทางตลาดการเงิน (Financial Variables)
จากนั้นจึงกำหนดข้อสมมติฐานและสถานการณ์ของ เช่น อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate) และเส้นอัตรา
การดำเนินนโยบายหนี้อื่น (Alternative scenario) เช่น ผลตอบแทนพันธบัตร (Yield curve) แบบจำลองจะใช้
แผนการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อชดเชยการขาดดุล การประมาณการ Yield curve ด้วย 3 factors Nelson
งบประมาณ การปรับโครงสร้างหนี้ หรือแผนการกู้เงิน Siegel Model 2
เพื่อลงทุนโครงการ Megaproject ทั้งนี้ การกำหนด เมื่อ User ได้กรอกข้อมูลและกำหนดสมมติฐาน
Alternative Scenario นั้นสามารถกำหนดได้หลาย อย่างครบถ้วนแล้ว แบบจำลองฯ จะคำนวณและ
สถานการณ์ ขึ้นกับการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลลัพธ์ วิเคราะห์ออกมาเป็นผลลัพธ์ ซึ่งสามารถสรุปโครงสร้าง
ของต้นทุนและความเสี่ยงของแต่ละสถานการณ์ ของแบบจำลองฯ ไดัดังแผนภาพที่ 1
เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของนโยบาย
2. ปัจจัยทางเศรษฐกิจมหภาคและการเงิน (Macro
and Financial variables)
ภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวนและยากต่อการคาดการณ์ 091
เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลโดยตรงต่อสถานะหนี้และ
แผนการก่อหนี้ในอนาคต แบบจำลองฯ จึงนำปัจจัย
2
3 factors-Nelson Siegel Model เป็น model ที่ใช้ประมาณการณ์ Yield Curve จากข้อมูลในอดีต ซึ่งประกอบด้วย 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยระยะยาว
(Long-term rate) เพื่อกำหนดการเคลื่อนไหวขึ้น-ลงของ Yield curve ทั้งเส้น ปัจจัยระยะสั้น (Short-term premium/discount)
เพื่อกำหนดความชัน และปัจจัยระยะกลาง (Medium-term premium/discount) เพื่อกำหนดความโค้ง (Curvature) ของ Yield curve ANNUAL REPORT 2008 รายงานประจำปี 2551
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE