Page 88 - Annual Report 2551
P. 88
(Synthetic CDO) ซึ่งแม้ว่าจะเป็นตราสารหนี้ที่มี โดยไม่ทันรู้ตัวได้ ดังเช่นกรณีของ CDS ที่เป็น Trigger
หลักทรัพย์อ้างอิง แต่สามารถแยกชั้นความเสี่ยงของ Point ตัวหนึ่งของวิกฤติที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ ถ้าเรามีระบบการ
หลักทรัพย์ออกได้เป็นหลายระดับตั้งแต่ระดับที่มีความ บริหารความเสี่ยงที่ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพแล้วเราก็
น่าเชื่อถือสูงระดับ AAA จนถึงระดับความน่าเชื่อถือ น่าจะสามารถหลีกเลี่ยงวิกฤติที่อาจจะซ้ำรอยขึ้นในอนาคตได้
ต่ำสุด ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการผิดนัดชำระหนี้สูงทำให้
สถาบันการเงินผู้ออกตราสาร CDO จึงขาย CDS เพื่อ 6. CDS ของประเทศไทย
ประกันความเสี่ยงทางเครดิตให้กับผู้ถือตราสาร CDO CDS ของประเทศไทยที่มีการซื้อขายกันในตลาด
ด้วยในคราวเดียวและให้ผลตอบแทนใน CDO ที่สูงมาก คือ Kingdom of Thailand CDS อายุ 5 ปี ซึ่งสะท้อน
จึงทำให้ CDO ยิ่งกลายเป็นตราสารที่น่าลงทุนอย่างยิ่ง ความเสี่ยงทางเครดิตที่นักลงทุนมีต่อประเทศไทย และ
ในช่วงก่อนเกิดวิกฤติ CDS Spread ดังกล่าวสามารถนำมาใช้อ้างอิงถึงต้นทุน
อย่างไรก็ดี เมื่อเกิดวิกฤติ Subprime ขึ้นและปัญหา ของตราสารที่ออกโดยรัฐบาลไทยในตลาดต่างประเทศ
การผิดนัดชำระหนี้เริ่มขยายวงกว้างทำให้ผู้ขาย CDS ได้
รายใหญ่หลายราย เช่น Ambac, MBIA, AIG ไม่มีเงิน การเคลื่อนไหวของ CDS ของประเทศไทย
พอที่จะมาจ่ายให้กับผู้ซื้อ CDS จึงนำไปสู่การถูก เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ได้แก่ ประเทศ
ปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือของสถาบัน ซึ่งการลดอันดับ เกาหลีใต้และมาเลเซียที่มีอันดับความน่าเชื่อถืออยู่ในระดับ
ความน่าเชื่อถือของสถาบันผู้ขายประกันความเสี่ยงเครดิต Investment grade เช่นเดียวกัน จะเห็นว่า CDS
นี่เองที่เป็น trigger point สำคัญที่ทำให้วิกฤติทวีความ ของทั้ง 3 ประเทศเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกันช่วงที่
รุนแรงมากยิ่งขึ้นทั้งวิกฤติความเชื่อมั่นและวิกฤติสภาพคล่อง วิกฤติการเงินเริ่มส่งผลกระทบไปทั่วโลก CDS Spread
ของทั้ง 3 ประเทศปรับตัวสูงขึ้นและแตะระดับสูงสุด
5. บทเรียน คือ อะไร ช่วงเดือนตุลาคม 2551 โดย CDS Spread ของ
วิกฤติครั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการ ประเทศไทยและมาเลเซียแตะระดับสูงสุดที่ 490 bps
บริหารความเสี่ยงที่จะต้องกระทำอย่างระมัดระวังและ ขณะที่ CDS ของประเทศเกาหลีใต้สูงสุดที่ 668 bps
เข้มงวด รวมทั้งควรมีหน่วยงานกำกับติดตามและประเมิน ในระยะต่อมา แม้จะดูเหมือนว่าความตึงตัวของ CDS
ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในทุกๆ ด้าน และควรระวังมิให้ Spread จะค่อนข้างผ่อนคลายลง แต่ก็ยังไม่กลับไปสู่
บทบาทของตราสารอนุพันธ์ในการเก็งกำไรเข้ามามีบทบาท ระดับที่เคยเป็นในอดีตได้ ซึ่งก็คงต้องรอดูว่าวิกฤติการเงิน
มากเกินกว่าบทบาทในการเป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง ที่เกิดขึ้นจะเนิ่นนานสักเพียงใด
(Hedging) ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง
087
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE ANNUAL REPORT 2008 รายงานประจำปี 2551