Page 91 - Annual Report 2551
P. 91
แบบจำลองบริหารความเสี่ยง (Risk Model) ระยะที่ 2
หนึ่งในพันธกิจหลักของสำนักงานบริหารหนี้ ความเสี่ยงของ สบน. รวมถึงช่วยในการวิเคราะห์และ
สาธารณะ (สบน.) คือ การเสนอแนะนโยบายวางแผน กำหนดดัชนีชี้วัดการบริหารหนี้สาธารณะ (Portfolio
และดำเนินการก่อและบริหารหนี้สาธารณะให้เกิด Benchmark)
1
ประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ สบน. จึงได้ตระหนักดีว่ามีหลาย บทความนี้จึงเป็นโอกาสหนึ่งให้ผู้อ่านได้ทำความ
ปัจจัยที่มีนัยสำคัญต่อการดำเนินการบริหารหนี้สาธารณะ รู้จักกับแบบจำลองดังกล่าว เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
และได้มีการวางมาตรการควบคุมเพื่อการเฝ้าระวัง ทั้งในเชิงวิธีการคำนวณและความสามารถของ
อย่างใกล้ชิด รวมถึงการวางยุทธศาสตร์การบริหารหนี้และ แบบจำลองฯ รวมถึงแนวทางการนำไปใช้ให้ก่อประโยชน์
ความเสี่ยงของหนี้สาธารณะเชิงรุก (Pro-active Debt กับการบริหารหนี้ของ สบน.
Management) ที่เน้นให้การบริหารหนี้มีต้นทุนต่ำและ
อยู่ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม ในปัจจุบัน สบน. โครงสร้างแบบจำลองบริหารความเสี่ยง
ได้เริ่มใช้แบบจำลองบริหารความเสี่ยงระยะที่ 2 และ 1. ข้อมูลหนี้สาธารณะและข้อสมมติฐาน (Legacy
090 อยู่ระหว่างการปรับใช้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อใช้ and Debt policy)
เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์และประเมินต้นทุนและ ในการประมาณการหนี้สาธารณะ ผู้ใช้ (Users)
1
Portfolio Benchmark เป็นกลยุทธ์ในการวางกรอบและแนวทางการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ ตลอดจนการประเมินความเสี่ยง
ทางการเงินที่มีผลกระทบต่อภาระหนี้สาธารณะ ซึ่งนับว่าเป็นกลยุทธ์ที่ประเทศที่มีระบบการบริหารจัดการหนี้สาธารณะที่มีประสิทธิภาพ
หรือ Debt Offices ต่างๆ นำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยตั้งแต่ ปี 2549 สบน. ได้จัดทำ Benchmark จำนวน 4 ตัวชี้วัด คือ
1. สัดส่วนหนี้ในประเทศต่อหนี้ต่างประเทศ (Domestic Debt : External Debt)
2. สัดส่วนหนี้สกุลเงินตราต่างประเทศ (Foreign Currency Mix)
3. สัดส่วนหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ต่อหนี้ที่มีอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัว (Fixed Rate Debt : Floating Rate Debt)
4. สัดส่วนหนี้ระยะสั้นต่อหนี้ระยะยาว (Short - term Debt : Long - term Debt)
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ