Page 77 - Annual Report 2552
P. 77

กลยุทธ์สู่ความสำาเร็จ


            ของสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ



                    ในปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจ ตลาดการเงิน ตลาดทุนมี
            ความผันผวนอย่างมาก และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำาให้

            การดำาเนินนโยบายการเงินการคลังต้องมีการปรับเปลี่ยนอย่าง
            ทันท่วงทีเพื่อรองรับความผันผวนที่เกิดขึ้น และจากวิกฤติ

            เศรษฐกิจที่ผ่านมาทำาให้รัฐบาลต้องดำาเนินนโยบายขาดดุล
            งบประมาณจำานวนมาก และการลงทุนผ่านโครงการไทยเข้มแข็ง

            ภายใต้พระราชกำาหนดให้อำานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟู
            และเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ  พ.ศ.  2552  วงเงินรวม

            400,000  ล้านบาท จึงทำาให้ระดับหนี้สาธารณะของประเทศสูงขึ้น
            อย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ซึ่งจะตามมาด้วยปัญหาของการชำาระคืนเงินกู้

            และภาระดอกเบี้ยที่เพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน ดังนั้น การบริหาร
            หนี้สาธารณะในปัจจุบันและอนาคตจะเป็นเรื่องที่มีความสลับซับซ้อน

            และท้าทายเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้ กุญแจสำาคัญที่จะนำาพาสำานักงาน
            บริหารหนี้สาธารณะ ไปสู่ความสำาเร็จในการบริหารหนี้สาธารณะ

            อย่างมีประสิทธิภาพประกอบด้วย 4 กลยุทธ์หลัก ได้แก่
                    1. การบริหารหนี้เชิงรุก

                       การดำาเนินงานของสำานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ต่อไปในอนาคต จะต้องเน้นการบริหารหนี้

             เชิงรุกให้มากขึ้นจากภาระหนี้ที่เพิ่มสูงขึ้น  โดยการยืดอายุเฉลี่ยของหนี้ให้ยาวขึ้น  เพื่อลดความเสี่ยงในการปรับ
             โครงสร้างหนี้และลดต้นทุนระยะยาวของประเทศ เช่น  การออกพันธบัตรระยะยาวมากขึ้น ในรุ่น 15  20 30 ปี หรือ
             ยาวกว่า 30 ปี อีกทั้งหลีกเลี่ยงการกระจุกตัวของหนี้ที่ครบกำาหนด พร้อมทั้งมีการบริหารความเสี่ยงที่ active

             มากขึ้น เช่น การทำา Interest Rate Swap และ Cross Currency Swap เพื่อลดภาระการชำาระหนี้ในแต่ละปี

             ให้น้อยที่สุด นอกจากนั้น การก่อหนี้ใหม่จะต้องคำานึงถึงความสามารถในการสร้างผลตอบแทน และ
             ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน สำาหรับโครงการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษา
             เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และสังคม โดย สบน. ต้องสร้างแนวร่วม

             จากหน่วยงานกลาง  ทั้งจากสำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  สำานักงบประมาณ

             สำานักงานเศรษฐกิจการคลัง และหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง
                    2. การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ

                       การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ถือเป็นยุทธศาสตร์หลักของ สบน. โดยต้องพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทยให้มี

             การเจริญเติบโตสามารถรองรับการระดมทุนของภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจและเอกชน สิ่งที่เราต้องทำาคือ การสร้าง





   76     รายงานประจำาปี 2552 ANNUAL REPORT 2009
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82