Page 22 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 2
P. 22
โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อสนับสนุนน้ําดื่มสะอาดใหกับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560
การผสมน้ําโคลนใหใชน้ําจืดผสมกับผงโคลน โดยใชเครื่องมือผสมผงโคลนที่ติดมากับเครื่องจักรเจาะบอดังรูป
ผงโคลน
น ําจืดเข้า น ําจืดผสมผงโคลนออก
รูปที่ 3 การผสมน้ําโคลน
โดยใชปมน้ําโคลนที่ติดตั้งอยูกับเครื่องจักรสูบน้ําจากบอโคลน ผานเครื่องผสมน้ําโคลน ลงบอน้ําโคลน จน
น้ําโคลนมีความเขมขนและความหนืดตามที่ตองการ
2.2.2 ขั้นตอนการเจาะและกอสรางบอบาดาลและการกอสรางบอ
วิธีการเจาะ
การเจาะลงทอกันพัง (Casing Program)
ใหใชทอเหล็กเหนียวขนาด 12 นิ้วสําหรับการเจาะบอระบบ Direct Rotary Drilling และขนาด 8 นิ้ว
สําหรับการเจาะบอระบบ Air Rotary Drilling ความลึกอาจขึ้นอยูกับดุลยพินิจของชางเจาะขณะทําการเจาะ ณ
บอนั้นๆ โดยทั่วไปทอกันพังมีความยาวประมาณทอนละ 3 เมตร เพื่อสะดวกในการติดตั้งและขนยาย การตอทอกันพัง
ควรใชทอตอเกลียวหัวทาย ทอกันพังสามารถนํากลับมาใชใหมไดอีกหลายๆครั้งหลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการสรางบอ
บาดาล ใหเจาะดวยหัวเจาะขนาด 12 นิ้วสําหรับการเจาะระบบ Direct Rotary และ 8 นิ้วสําหรับการเจาะระบบ Air
Rotary ความลึกสําหรับการเจาะระบบ Direct Rotary ไมนอยกวา 6 ม. หรือแลวแตดุลยพินิจของชางเจาะขณะทําการ
เจาะบอนั้นๆ และจนกวาจะถึงชั้นหินแข็งสําหรับการเจาะแบบ Air Rotary แลวติดตั้งทอกันพัง
เจาะบอนํา (Pilot hole)
การเจาะบอนําใหเจาะดวยหัวเจาะขนาด 6 ½ ตลอดความลึกที่ตองการ และเก็บตัวอยางดิน หิน ทราย ทุก
ระยะ 1 เมตร ที่เจาะผาน การเจาะดวยระบบ Direct Rotary Drilling จําเปนตองใชน้ําโคลน ดังนั้นจะตองขุดบอน้ํา
โคลนและผสมผงโคลนใหไดความหนืดของน้ําโคลนที่ตองการกอนทําการเจาะ
ขณะทําการเจาะบอนั้นชางเจาะควรทําการเก็บตัวอยางจากหลุมเจาะอยางแมนยํา และจดบันทึกลําดับ
ชั้นดินและหินทุกชวงที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งตองอาศัยประสบการณและความเชี่ยวชาญของชางเจาะ เพื่อที่จะนําขอมูล
มาออกแบบการติดตั้งทอกรุ ทอกรอง เลือกขนาดกรวดกรุและเลือกกรุกรวดดวยวิธีใด ดังนั้นความรูทางดานธรณีวิทยา
มีความจําเปนสําหรับชางเจาะที่ตองใหความสนใจ เพื่อจะไดบรรยายลักษณะหินไดดี ทําใหสะดวกในการออกแบบสราง
บอ เปนการเพิ่มประสิทธิภาพของบอบาดาลไดเปนอยางดี
สํานักทรัพยากรน้ําบาดาล เขต 10 อุดรธานี หนา 12