Page 20 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 2
P. 20

โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อสนับสนุนน้ําดื่มสะอาดใหกับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560


                              คาความตานทานไฟฟาจําเพาะ (Resistivity) หมายถึง คาความตานทานไฟฟาจําเพาะของชั้นดินและหิน
                    ประกอบดวยปจจัยเกี่ยวของ คือ น้ําหรือโคลนเจาะในหลุม ชนิดของดินหรือหินโดยตรงและขนาดของหลุมเจาะ มีหนวย
                    วัดเปน โอหม-เมตร
                              ความตานทานไฟฟาของหินเปนตัวจํากัดปริมาณของกระแสไฟฟาที่จะไหลผานชั้นหินนั้นๆ ในทางปฏิบัติ

                    กระแสไฟฟาจะถูกสงลงสูดินผานขั้วไฟฟาสองขั้ว ซึ่งมีผลใหเกิดความตางศักยระหวางขั้วศักยไฟฟาอีกสองขั้ว ซึ่งอยูใน
                    แนวเสนตรงเดียวกัน เราสามารถทราบคาความตานทานไฟฟาจําเพาะของชั้นดิน หินได โดยการคํานวณจากคา
                    กระแสไฟฟา และคาความตางศักยไฟฟาที่วัดได ณ จุดความลึกใดๆ ในแนวดิ่งของตําแหนงที่สํารวจ ความตานทาน
                    ไฟฟาของหินแตละชนิดจะขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง ไดแก ชนิดของแรที่ประกอบขึ้นเปนหิน ความหนาแนนของเนื้อ
                    หิน ชองวางและขนาดรูปรางของชองวาง สิ่งที่แทรกในชองวาง ปริมาณความชื้นของหิน คุณภาพของน้ําที่แทรกอยูใน
                    เนื้อหิน และอุณหภูมิ โดยทั่วไปชั้นหินแข็งจะมีคาความตานทานไฟฟาสูง หินรวนที่มีขนาดตะกอนใหญกวาจะมีคาความ
                    ตานทานไฟฟาสูงกวาชนิดที่มีตะกอนเล็กกวา แตปริมาณน้ําที่แทรกและคุณสมบัติทางไฟฟาของน้ํา จะเปนตัวแปรที่

                    สําคัญที่จะทําใหความตานทานไฟฟาของหินเปลี่ยนแปลงไป


















                            รูปที่ 1  กิจกรรมการสํารวจทางธรณีฟสิกส ดวยวิธีการสํารวจความตานทานไฟฟาจําเพาะ

                            2.2  การเจาะบอน้ําบาดาล

                            2.2.1 การจัดเตรียมสถานที่และการติดตั้งเครื่องจักรเจาะบอน้ําบาดาล

                              การตั้งเครื่องจักรบอ

                              - การติดตั้งเครื่องจักรเจาะบอ ควรคํานึงถึงความสะดวกในการทํางานและความปลอดภัยของผูปฏิบัติงาน
                    และควรหันหนารถเจาะออกทางดานถนน หรือทิศทางที่สามารถนําเครื่องจักรออกจากจุดเจาะไดทันทวงที ถาหากเกิด
                    ปญหากับการเจาะบอ เชน บอพังจนแกไขไมได หรือเกิดภัยธรรมชาติ

                              - ไมติดตั้งเครื่องจักรเจาะบอใกลสายไฟฟาแรงสูง

                              - ไมติดตั้งเครื่องจักรเจาะบอใกลสิ่งปลูกสรางจนเกินไป เชน หอถังสูง

                              - ไมติดตั้งเครื่องจักรเจาะบอในพื้นที่ลาดเอียงมากๆ
                              การเตรียมน้ําโคลน

                    น้ําโคลนเปนปจจัยสําคัญในการเจาะบอดวยระบบ Direct Rotary Drilling โดยมีหนาที่ดังนี้



                    สํานักทรัพยากรน้ําบาดาล เขต 10 อุดรธานี                                                หนา 10
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25