Page 15 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 2
P. 15

โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อสนับสนุนน้ําดื่มสะอาดใหกับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560


                                    ลําดับ 2 ปริมาณน้ําบาดาล พื้นที่โดยมากเปนพื้นที่หาน้ํายาก ตองมีการสํารวจอยางละเอียดเพื่อ
                    กําหนดจุดเจาะบอน้ําบาดาล และในบางพื้นที่ปริมาณน้ําที่พัฒนาไดจึงคอนขางนอยมาก ตองทําการรวมน้ําจากหลายๆ
                    บอน้ําบาดาลจึงจะเพียงพอตอการผลิตน้ําประปาได ซึ่งปริมาณน้ําอยางนอยตองไมต่ํากวา 2 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมงจึง
                    จะเพียงพอ

                                    ลําดับ 3 คุณภาพของน้ําบาดาลจากบอน้ําบาดาล ที่ชั้นน้ําบาดาลมีการปนเปอนโดยธรรมชาติอยู
                    แลว ทําใหมีปริมาณสารละลายรวมในน้ําสูง โดยเฉพาะปริมาณคลอไรด (ความเค็ม) จะมีผลตออายุการใชงานของเมม
                    เบรนที่ตองมีการเปลี่ยนบอยขึ้น (อายุการใชงานนอยลง) ทําใหคาบํารุงรักษาเพิ่มสูงขึ้น

                                    กรมทรัพยากรน้ําบาดาล ไดสํารวจและตรวจสอบขอมูลพื้นฐานดานแหลงน้ําและระดับความ
                    รุนแรงของการขาดแคลนแหลงน้ําและคุณภาพน้ําของโรงเรียนทั่วประเทศ จํานวน 32,186 แหงแลวนอกจากโรงเรียน
                    ขาดแคลนน้ําอยางรุนแรงจํานวน 2,478 แหง ที่ไดดําเนินการแกไขปญหาขาดแคลนน้ําโดยการพัฒนาแหลงน้ําบาดาล
                    เพื่อใชในการอุปโภคบริโภคแลวยังมี โรงเรียนในสังกัด สพฐ. /โรงเรียนพระปริยัติธรรม /โรงเรียนคนพิการ /โรงเรียน
                    ศึกษาสงเคราะห /วิทยาลัยขยายโอกาสทางการศึกษา จํานวน 6,832 แหง ที่ประสบปญหาไมมีแหลงน้ําเพื่อใชใน
                    กิจกรรมตางๆ เปนของตนเองหรือแหลงน้ําที่มีอยูมีปริมาณน้ําไมพอเพียงในการใชอยางทั่วถึงและเพียงพอตลอดทั้งป ไม
                    มีระบบประปาในการผลิตน้ําที่มีคุณภาพเพื่อการแจกจายน้ําอยางทั่วถึง และมีปญหาเรื่องคุณภาพน้ําที่มีสารละลายสูง

                    เกินมาตรฐานน้ําอุปโภคบริโภค ซึ่งไดจัดสงคํารองขอความชวยเหลือจากกรมทรัพยากรน้ําบาดาลใหไปดําเนินการจัดหา
                    และพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อแกไขปญหาขาดแคลนน้ําสะอาดใชเพื่อการอุปโภคบริโภคและปญหาดานคุณภาพน้ําที่ไม
                    เหมาะสมสําหรับการอุปโภคบริโภค

                                    ซึ่ง กรมฯ ไดทําการตรวจสอบขอมูลดานแหลงน้ํา (ปริมาณและคุณภาพน้ํา) รวมทั้งสํารวจศักยภาพ
                    แหลงน้ําบาดาลเบื้องตนแลว พบวา เปนพื้นที่ที่อยูในพื้นที่หาน้ํายาก มีความขาดแคลนน้ําคอนขางรุนแรง และบางแหง
                    มีคาสารละลายในน้ําคอนขางสูง จําเปนตองใหความชวยเหลือจากภาครัฐจัดหาสวัสดิการดานแหลงน้ําใหตอไป โดยการ
                    พัฒนาแหลงน้ําบาดาลและทําการกอสรางอาคารพรอมติดตั้งระบบปรับปรุงคุณภาพน้ําบาดาลใหไดมาตรฐานน้ําดื่ม
                    องคการอนามัยโลก มีกําลังการผลิต 500 ลิตรตอชั่วโมง เหมาะสมกับโรงเรียนที่มีนักเรียนและประชาชนผูใชประโยชน
                    ไมนอยกวา 500 คน (รูปแบบที่ 1) และกําลังการผลิต 250 ลิตรตอชั่วโมง เหมาะสมกับโรงเรียนที่มีนักเรียนและ
                    ประชาชนผูใชประโยชนไมนอยกวา 300 คน (รูปแบบที่ 2)

                             2. วัตถุประสงค

                                1. สํารวจและพัฒนาแหลงน้ําบาดาลใหกับโรงเรียนจํานวน 2,050 แหงที่ประสบปญหาการขาดแคลน
                    แหลงน้ําและประสบปญหาคุณภาพน้ําต่ํากวาเกณฑมาตรฐานน้ําอุปโภคบริโภค

                                2. เพื่อใหนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีน้ําใชเพื่อการอุปโภคบริโภค และดําเนินกิจกรรมตางๆ ใน
                    โรงเรียนไดอยางเพียงพอ

                                3. เพื่อใหประชาชนในชุมชนใกลเคียงกับโรงเรียนน้ําใชเพื่อการอุปโภคบริโภคอยางเพียงพอและทั่วถึง
                    แกไขปญหาขาดแคลนน้ําอยางยั่งยืน

                                      4. เพื่อใหนักเรียนไดรับความรูดานวิชาการน้ําบาดาลจากประสบการณจริงในการมีสวนรวมใน
                    ขั้นตอนการจัดหาพัฒนาแหลงน้ําบาดาล การกอสรางระบบประปาบาดาล และการปรับปรุงคุณภาพน้ําบาดาลเพื่อใชใน
                    การอุปโภคบริโภค การดําเนินธุรกิจขนาดเล็กเบื้องตน ตลอดจนการบริหารจัดการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ




                    สํานักทรัพยากรน้ําบาดาล เขต 10 อุดรธานี                                                 หนา 5
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20