Page 17 - รายงานน้ำโรงเรียน 60 รูปแบบ 2
P. 17

โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อสนับสนุนน้ําดื่มสะอาดใหกับโรงเรียนทั่วประเทศ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560


                                3. รูปแบบที่ 1 ขนาดและจํานวนประชากรที่ไดรับประโยชน จําแนกเปนผูไดรับประโยชนโดยตรงคือ
                    ครูและนักเรียนตองไมนอยกวา 300 คน และประชาชนหรือชุมชนโดยรอบโรงเรียนที่เขามามีสวนรวมในการใช
                    ประโยชนไมนอยกวา 200 คน
                                  รูปแบบที่ 2 ขนาดและจํานวนประชากรที่ไดรับประโยชน จําแนกเปนผูไดรับประโยชนโดยตรงคือ

                    ครูและนักเรียนตองไมนอยกวา 100 คนและประชาชนหรือชุมชนโดยรอบโรงเรียนที่เขามามีสวนรวมในการใช
                    ประโยชนไมนอยกวา 200 คน

                                4. เกณฑการกระจายลงในแตละจังหวัด พิจารณาจากขนาดของจังหวัด จํานวนประชากร จํานวน
                    โรงเรียน ขนาดของโรงเรียน ระดับความยากจน ระยะเวลาในการประสบความแหงแลง


                            6. กิจกรรมดําเนินการ


                                   กิจกรรมหลัก                  ผลผลิต (เปาหมายเชิงปริมาณแตละกิจกรรม)
                     6.1 สํารวจอุทกธรณีวิทยาและธรณีฟสิกส   การกําหนดจุดเจาะบอน้ําบาดาลจํานวน 6,832 จุด
                                                             ที่ชัดเจน แมนยําวามีศักยภาพน้ําบาดาลเพียงพอ
                                                             เหมาะสมในการกอสรางระบบประปาบาดาลได
                     6.2 พัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อเปนแหลงน้ําดิบ  การเจาะบอน้ําบาดาลจํานวน 6,832 บอ ตามหลัก
                          สําหรับพื้นที่ที่ขาดแคลนแหลงน้ํา   วิชาการและกอสรางบอน้ําบาดาลตามรูปแบบ

                                                             มาตรฐาน
                     6.3 กอสรางระบบประปาบาดาล              ระบบประปาบาดาลจํานวน 6,832 ระบบ ที่มี
                                                             ประสิทธิภาพในการผลิตน้ําที่มีคุณภาพ
                     6.4 กอสรางระบบปรับปรุงคุณภาพน้ําดื่มและ   ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ําจํานวน 6,832 ระบบ ผลิต
                          โรงปรับปรุงคุณภาพน้ําดื่ม          น้ําดื่มไดตามมาตรฐานองคการอนามัยโลก
                     6.5 การถายทอดองคความรู เทคโนโลยี และ  ฝกอบรมและถายทอดความรู เทคโนโลยี ขั้นตอน

                     การ                                     การพัฒนาแหลงน้ําบาดาลไปจนถึงกระบวนการผลิต
                         มีสวนรวมในกระบวนการจัดหาพัฒนาแหลง  น้ําดื่มไดมาตรฐานองคการอนามัยโลก ตลอดจนการ
                         น้ําบาดาล การบริหารจัดการระบบประปา   ดูแลรักษาและการใชงานที่ถูกตอง ใหกับนักเรียนและ
                         บาดาลและระบบปรับปรุงคุณภาพน้ําบาดาล  บุคลากรในโรงเรียนและชุมชน จํานวน 6,832
                         และการดูแลบํารุงรักษา               โรงเรียน และใหมีสวนรวมในการปฏิบัติงานจริง
                                                             ในภาคสนาม
                     6.6 การติดตามและประเมินผลโครงการ        เปนการประเมินผลความสําเร็จของกิจกรรมการจัดหา
                                                             น้ําดื่มสะอาดใหกับโรงเรียนจํานวน 6,832 โรงเรียน
                                                             รวมถึงความพึงพอใจของผูไดรับการชวยเหลือและ

                                                             ความพรอมของโรงเรียนและชุมชนในการพึ่งพาตนเอง
                                                             ในการดําเนินธุรกิจน้ําดื่มได

                            7. ระยะเวลาดําเนินการและงบประมาณในการดําเนินงาน


                    สํานักทรัพยากรน้ําบาดาล เขต 10 อุดรธานี                                                 หนา 7
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22