Page 80 - วรรณกรรม_50_ที่ต้องได้อ่านก่อนโต
P. 80

เตะ---เตะ---แป้งฟุ้งควั่งคว้างราวกับ

 ความปั่นป่วนในเขตอาร์คติค---ไซม่อน

 ชูแขนสองข้างอย่างมีชัย เขาจะไม่ทำา

 ผิดพลาดอย่างที่พ่อของเขาทำา ไม่หรอก                                                                ภาพจาก www.walker.co.uk

 เขาจะไม่ปักหลักเร็วเกินไปหลายปี
 จนกระทั่งต้องเลือกเอาระหว่างการใช้ชีวิต

 ตามสบาย กับการทิ้งให้เด็กคนหนึ่งต้อง

 เดินอ้อยอิ่งไปตามถนนวิลเบอร์ฟอร์ซทุก

 วัน พลางนึกพูดในใจกับพ่อที่มีตาสีฟ้า

 แววหัวเราะ อันเป็นภาพที่เขานึกขึ้นมาเอง

 เพราะพ่อจริงๆ ของเขาไม่ได้อยู่ด้วย     น้องแป้ง (Flour Babies) เขียนโดย     แอนน์ ไฟน์ (Anne Fine) เกิด
 น้องแป้ง                 รางวัลยอดเยี่ยม 2 รางวัล คือรางวัลเหรียญ  ที่เมืองเลสเตอร์ ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่
                           แอนน์ ไฟน์ เป็นวรรณกรรมเยาวชนที่ได้รับ
                                                                  7 ธันวาคม ค.ศ.1947 ทำางานครั้งแรกเป็น
                           คาร์เนกี้ และรางวัลวิทเบรด ได้รับเลือกเป็น
                                                                  กรรมสากล ลาออกจากงานประจำามาเขียน
                          หนังสืออ่านนอกเวลาในโรงเรียนมัธยมหลาย   ครู ต่อมาเป็นอาสาสมัครในองค์กรนิรโทษ
                        สิบประเทศทั่วโลก และเคยสร้างเป็นภาพยนตร์  หนังสืออย่างจริงจังเมื่อปี ค.ศ. 1973 ได้
                         มาแล้ว แปลเป็นไทยโดย สุมนา บุณยะรัตเวช   รับรางวัลต่างๆ มากมาย เช่น รางวัล
 น้องแป้ง เป็นโครงการนิทรรศการ     หากคุณเป็นเด็กที่ถูกพ่อทอดทิ้งตั้งแต่ยังแบเบาะ คุณจะ  จัดพิมพ์โดยสำานักพิมพ์ผีเสื้อในปี พ.ศ. 2540   เหรียญคาร์เนกี้ รางวัลวิทเบรด รางวัล
 ทางวิทยาศาสตร์เพื่อการเรียนรู้  รู้สึกอย่างไรในเมื่อแม่เลี้ยงคุณมาอย่างยากลำ บากเพียงลำ พัง  เป็นหนังสือที่อ่านสนุกมีสาระและอารมณ์ขัน ให้  การ์เดี้ยน รางวัลสมาร์ตี้ ผลงานของเธอ
 เกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก โดยการ     สำ หรับ ไซม่อน มาร์ติน แม้จะเป็นเด็กรูปร่างใหญ่โต   ความรู้สึกสะเทือนใจไปพร้อมกัน เป็นการเปิด  นอกจากจะเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง
 ทดลองแจกถุงแป้งหนักหกปอนด์  ชอบเล่นซนกลั่นแกล้งเพื่อนไปวันๆ ไม่เคยสนใจเรียน แต่หัวใจของ  มุมมองทัศนคติในหมู่วัยรุ่น วัยเรียน  แล้ว หลายต่อหลายเรื่องมีผู้นำาไปสร้าง
 ไว้ให้นักเรียนชั้นสมองทึบดูแล  เขากลับร่ำ ร้องหาพ่อตลอดเวลา ยิ่งเวลาที่เขาต้องกระเตงน้องแป้ง  ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับลูกศิษย์และ  เป็นภาพยนตร์และภาพยนตร์โทรทัศน์อีก
 อยู่ข้างกาย เสมือนเป็นเด็กอ่อน  ไปทุกหนแห่งแม้กระทั่งตอนซ้อมกีฬา ความยากลำ บากในการดูแล  ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อ แม่ ลูก แฝงด้วย  ด้วย อาทิ มาดามเด๊าบ์ท์ไฟร์ (Madame
 ตลอดสามสัปดาห์ แล้วบันทึก  น้องแป้งให้พ้นจากภัยอันตรายทั้งปวง ทำ ให้เขานึกถึงแม่ที่อดทน  ข้อคิดอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม เพื่อให้เด็ก  Doubtfire) ซึ่งสร้างเป็นภาพยนตร์ เรื่อง
 ปัญหาและทัศนคติในทุกๆ วัน   เลี้ยงดูเขาอย่างดี ความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีจึงเกิดขึ้นทุกวัน เขา  เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในวันหน้า  มิสซิสเด๊าบ์ท์ไฟร์ (Mrs. Doubtfire) ที่
 ทำาให้ ไซม่อน มาร์ติน คิดถึงพ่อ  เกิดรักน้องแป้งขึ้นมา เห็นใจแม่มากขึ้น ตั้งใจเรียนมากขึ้น จนครู  โด่งดังนั่นเอง
 ที่ทิ้งเขาไปโดยไม่เคยเหลียวแล  ประจำ ชั้นเกิดความภาคภูมิใจ แต่สุดท้าย เขาค้นพบว่า แท้จริง
 แล้ว น้องแป้งไม่ได้มีชีวิตอยู่จริง และพ่อก็ไม่มีวันหวนกลับมาหา
 เขา เขาจึงหลุดพ้นจากความคิดฟุ้งซ่านทั้งปวง เพื่อหันกลับมาสู่
 ความเป็นจริงของชีวิต



 78                                                                                                    79
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85