Page 45 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 45

37

                       ศีล 5 มีประโยชน คือ

                       1.  เพื่อความสงบสุขของสังคม คือ การปองกันการลวงละเมิดสิทธิของผูอื่น อันจะสงผลให
                             เกิดการทะเลาะเบาะแวง ความหวาดระแวง และความวุนวายในสังคม

                       2.  เพื่อพัฒนาจิตใจของผูประพฤติ ปฏิบัติตามศีล เพราะ ศีล 5 บัญญัติขึ้นมา เพื่อควบคุม
                             ไมใหมีการแสดงออกทางกาย หรือวาจา ไปในทางที่ตอบสนองอํานาจของกิเลส ในการ

                             ใหศีล นั้น ตอนสุดทายพระ จะกลาววา
                                  สีเลนะสุคะตังยันติสีเลนะโภคะสัมปะทา

                                  สีเลนะนิพพุติงยันติตัสมาสีลังวิโสธะเย
                             คํากลาวนี้แสดงถึง อานิสงสของการรักษาศีล คือ ศีลทําใหผูประพฤติปฏิบัติเขาถึงสุคติ

                             คือ ไปในทางที่ดี ศีลกอใหเกิดโภคทรัพย และศีลนํามาใหไดถึงความดับ หรือพระนิพพาน
                       3.  การปฏิบัติตนเพื่อความพนทุกข ชาวพุทธควรศึกษาธรรมที่สําคัญ ๆ คือ อริยสัจ 4
                             อิทธิบาท 4 ทิศ 6 สัปปุริสธรรม 7 อบายมุข 6 พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 และชาวพุทธ

                             ควรบริหารจิตตามหลักพุทธศาสนา

                             3.1  อริยสัจ 4 คือ ธรรมที่พระพุทธเจาทรงตรัสรูอริยสัจ 4 คือ ความจริง 4 ประการ คือ
                                  1)  ทุกข คือ ความไมสบายกาย ไมสบายใจ อันเนื่องมาจากสภาพที่ทนไดยาก
                                        คือ สภาวะที่บีบคั้นจิตใจ ความขัดแยง ความไมสมปรารถนา การพลัดพราก

                                        จากสิ่งที่รักที่ชอบใจ
                                  2)  สมุทัย คือ เหตุที่ทําใหเกิดความทุกขจากตัณหา หรือความอยาก ความ

                                        ตองการ มีสาเหตุมาจาก
                                          กามตัณหา คือ ความอยากไดในสิ่งที่ปรารถนา เชน อยากไดบาน

                                          ภวตัณหา คือ ความอยากเปนโนน อยากเปนนี่
                                          วิภวตัณหา คือ ความไมอยากเปนนั่น ความไมอยากเปนนี่

                                  3)  นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข คือ การดับตัณหา ความอยากใหสิ้นไป ถาเรา
                                        ตัดความอยากไดมากเทาใด ทุกขก็มีนอยลงไปดวย และถาเราดับได

                                        ความสุขจะเกิดขึ้น
                                  4)  มรรค หมายถึง ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ไดแก การเดินทางสายกลาง

                                        หรือ เรียกอยางหนึ่งวา มรรค มีสวนประกอบ 8 ประการ คือ
                                        1.  สัมมาทิฎฐิ          คือ ความเห็นชอบ

                                        2.  สัมมาสังกัปปะ       คือ ความดําริชอบ
                                        3.  สัมมาวาจา           คือ ความเจรจาชอบ

                                        4.  สัมมากัมมันตะ       คือ การกระทําชอบ
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50