Page 7 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 7

โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง
                                              ระดับมัธยมศึกษาตอนตน




                  สาระสําคัญ

                       ประเทศไทย เปนประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
               เปนประมุข มีประชากรอาศัยอยูหลายเชื้อชาติ มีภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อที่แตกตางกัน  การให

               ความรูเกี่ยวกับความสําคัญ  หลักธรรมทางศาสนา และวัฒนธรรม  คานิยมของประเทศตาง ๆ ตลอดจน
               ความเปนมา หลักการ ความสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หลักการอยูรวมกัน หลักการ

               สําคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม คานิยมในการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง
               หลักสิทธิมนุษยชน และความตระหนักในการมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมที่จะปองกันและปราบปราม
               การทุจริต จะทําใหคนในสังคมไทยสามารถ นําหลักการ คําสอนและกฎระเบียบตาง ๆ ของสังคมมาปรับ

               ใชในการดําเนินชีวิตของตนไดอยางถูกตอง มีความสุข อันจะสงผลตอความสันติสุขของสังคม

                  ผลการเรียนที่คาดหวัง
                       1.   อธิบายความเปนมา ความสําคัญ หลักคําสอน ศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของ

                             ประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชียได
                       2.   ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลากหลายทาง

                             ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี
                       3.  อนุรักษและสืบสานประเพณี  วัฒนธรรม  ตลอดจนปฏิบัติตามคานิยมที่พึงประสงค

                             ของไทย  และอธิบายวัฒนธรรม  ประเพณี  คานิยมของชาติตาง ๆ ในเอเชีย
                       4.   อธิบายความเปนมา  หลักการ  เจตนารมณ  โครงสราง  สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญได

                       5.  มีความรูความเขาใจในหลักสําคัญของประชาธิปไตยและมีคุณธรรม จริยธรรมในการ
                             อยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง สมานฉันท

                       6.  อธิบายจุดเดนของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของประชาชนได
                       7.   อธิบายสิทธิ เสรีภาพและคุณธรรม จริยธรรม การอยูรวมกันตามวิถีทาง
                                 ประชาธิปไตยได
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12