Page 11 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 11
3
เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย
ศาสนาในประเทศไทยที่รัฐบาลใหการอุปถัมภดูแล มีทั้งสิ้น 5 ศาสนา ไดแก ศาสนาพุทธ
ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ ซึ่งทุกศาสนาลวนมีองคประกอบหลัก
ที่สําคัญ ๆ 5 ประการ คือ
1. ศาสดา หมายถึง ผูที่คนพบศาสนาและเผยแผคําสั่งสอนหรือหลักธรรมของศาสนา
2. ศาสนธรรม หรือหลักธรรมของศาสนา เปนคําสั่งสอนของแตละศาสนา
3. ศาสนิกชน หมายถึง บุคคลและปวงชนที่ใหการยอมรับนับถือในคําสั่งสอนของศาสนา
นั้น ๆ
4. ศาสนาสถาน หมายถึง สถานที่อยูอาศัยของนักบวชใชเปนที่ประกอบพิธีกรรมทาง
ศาสนา รวมถึงการเปนที่ที่ใหศาสนิกชนไปปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา
5. ศาสนพิธี หมายถึง พิธีทางศาสนาตาง ๆ ที่ถูกกําหนดขึ้นจากศาสดาโดยตรงหรือจาก
การคิดคนของผูปฏิบัติ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความตองการขจัดความไมรู ความกลัว
ความอัตคัด สนองความตองการในสิ่งที่ตนขาดแคลน จึงจําเปนตองมีวัตถุประสงคของ
การศึกษาคนควาปฏิบัติตามหลักของศาสนา
ประเทศไทยมีศาสนาพุทธ เปนศาสนาประจําชาติและมีผูนับถือจํานวนมากที่สุดในประเทศ
รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต และศาสนาฮินดู การศึกษาความเปนมาของศาสนา
ดังกลาวในประเทศไทยมีความสําคัญและจําเปน เพราะทําใหเกิดความเขาใจในศาสนาที่ตนนับถือและ
เพื่อรวมศาสนาอื่น ๆ ในประเทศ อันจะสงผลใหสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข