Page 14 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 14

6

               ถายทอดความรูบาง และเมื่อพระมหาบุรุษเลิกลมการบําเพ็ญทุกรกิริยา ปญจวัคคียก็ไดชวนกันละทิ้ง

               พระองคไปอยู ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน นครพาราณสี เปนผลใหพระองคไดประทับอยูตามลําพังในที่
               อันสงบเงียบปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวง พระองคไดทรงตั้งพระสติดําเนินทางสายกลาง คือการปฏิบัติ

               ในความพอเหมาะพอควร นั่นเอง
                       พระพุทธเจาทรงตรัสรูเวลารุงอรุณในวันเพ็ญ เดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ประกา กอนพุทธศักราช

               45  ป นางสุชาดาไดนําขาวมธุปายาส เพื่อไปบวงสรวงเทวดาครั้นเห็นพระมหาบุรุษประทับที่โคน
               ตนอชปาลนิโครธ (ตนไทร) ดวยอาการอันสงบ นางคิดวาเปนเทวดาจึงถวายขาวมธุปายาส แลวพระองค

               เสด็จไปสูทาสุปดิษฐ ริมฝงแมน้ําเนรัญชรา หลังจากเสวยแลวพระองคทรงจับถาดทองคําขึ้นมาอธิษฐานวา
               “ถาเราจักสามารถตรัสรูไดในวันนี้ก็ขอใหถาดทองคําใบนี้จงลอยทวนกระแสน้ําไปไกลถึง 80 ศอก จึง

               จมลงตรงที่กระแสน้ําวน” ในเวลาเย็นพระองคเสด็จกลับมายังตนโพธิ์ที่ประทับ คนหาบหญา ชื่อ โสตถิยะ
               ไดถวายปูลาดที่ประทับ ณ ใตตนโพธิ์ พระองคประทับหันพระพักตรไปทางทิศตะวันออก และทรงตั้งจิต
               อธิษฐานวา “แมวาเลือดในกายของเราจะเหือดแหงไปเหลือแตหนัง เอ็น กระดูก ก็ตาม ถายังไมบรรลุ

               ธรรมวิเศษแลวจะไมยอมหยุดความเพียรเปนอันขาด” เมื่อทรงตั้งจิตอธิษฐานเชนนั้นแลว พระองคก็

               ทรงสํารวมจิตใหสงบแนวแน มีพระสติตั้งมั่น มีพระวรกายอันสงบ มีพระหทัยแนวแน เปนสมาธิบริสุทธิ์
               ผุดผอง ปราศจากกิเลส ปราศจากความเศราหมอง มีความตั้งมั่นไมหวั่นไหว
                       ในปฐมยามแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ญาณที่ระลึกถึงชาติตาง ๆ

               ในปางกอน ตอมาในมัชฌิมยาม คือ ยามกลางแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูจุตูปปาตญาณ คือ ญาณ
               กําหนดรูการเกิดของสัตวทั้งหลาย และในยามสุดทาย คือ ปจฉิมยาม พระองคทรงตรัสรู อาสวักขยญาณ

               คือ ญาณหยั่งรูในการสิ้นไปแหงอาสาวกิเลสทั้งหลาย พระองคทรงตรัสรูอริยสัจ 4 คือ ทุกข สมุทัย
               นิโรธ มรรค วันที่พระองคทรงตรัสรูในวันเพ็ญ เดือน 6 ประกา พระชนมายุได 35 พรรษา นับแตวันที่

               ออกผนวชจนถึงวันตรัสรูธรรม รวมเปนเวลา 6 ป
                       หลังจากตรัสรูแลวพระองคทรงเสวยวิมุตติสุข ณ บริเวณตนพระศรีมหาโพธิ์ เปนเวลา

               7 สัปดาห ทรงรําพึงวา ธรรมะของพระองคเปนเรื่องยากสําหรับคนทั่วไปจะรู พระองคนอมพระทัย
               ที่จะไมประกาศศาสนา แตเมื่อพิจารณาแลวเห็นสภาวธรรมวา สติปญญาของบุคคลเปรียบเสมือน

               ดอกบัว  4  เหลา คือ พวกที่ฟงธรรมแลวรูเขาใจโดยงาย คือ บัวที่อยูพนน้ํา  พวกที่ฟงธรรมที่อธิบาย
               ขยายความแลวจะรูธรรม คือ บัวที่อยูปริ่มน้ํา พวกที่ฟงธรรมแลวตองใชระยะเวลานานไตรตรอง

               ทบทวนไปมาจึงจะเขาใจเหมือนบัวที่อยูใตน้ํา และพวกสุดทาย คือ พวกที่ฟงธรรมแลวทําอยางไรก็
               ไมเขาใจเหมือนบัวที่อยูใตตม เปนอาหารเตา ปู ปลา จากนั้นดวยพระเมตตาของพระองค จึงประกาศ

               เผยแผศาสนา พระองคทรงพิจารณาจะสอนพระธรรมใหกับใครกอนเปนคนแรก ครั้งแรกคิดจะสอน
               พระธรรมแกอาฬารดาบส  แตอาจารยทั้งสองทานตายแลว พระองคจะเผยแผธรรมแกปญจวัคคียทั้ง 5

               ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน พระองคทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ)
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19