Page 17 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 17

9

                       ในพุทธศตวรรษที่ 13 พ.ศ. 1300 สมัยอาณาจักรศรีวิชัย ในเกาะสุมาตราไดเจริญรุงเรือง

               และนําพระพุทธศาสนาแบบมหายานเขามาเผยแผดังมีหลักฐานที่ปรากฏอยู คือ พระบรมธาตุไชยา
               จังหวัดสุราษฎรธานี และพระมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช

                       ในพุทธศตวรรษที่ 15 พ.ศ. 1500 อาณาจักรลพบุรีเจริญรุงเรือง ในขณะเดียวกันอาณาจักรขอม
               ก็เจริญรุงเรืองดวย ในสมัยราชวงศสุริยวรมันเรืองอํานาจ พระองครับเอาพุทธศาสนาแบบมหายาน

               ผสมผสานกับศาสนาพราหมณ  และทรงสรางศาสนาสถานเปนพระปรางคและปราสาท อาณาจักรลพบุรี
               ของไทยรับอิทธิพลนี้มาดวยมีภาษาสันสกฤต เปนภาษาหลักของศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลใน

               ภาษาไทย วรรณคดีไทย จะเห็นสิ่งกอสราง คือ พระปรางคสามยอด จังหวัดลพบุรี ปราสาทหินพิมาย
               ที่จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุง ที่จังหวัดบุรีรัมย สวนพระพุทธรูปไดรับอิทธิพลของขอม

               เชน ศิลปะแบบขอม
                       พุทธศตวรรษที่ 16 พ.ศ. 1600 อาณาจักรพุกาม ประเทศพมา เจริญรุงเรือง กษัตริยผูปกครอง
               ชื่อพระเจาอนุรุทธิ์มหาราช กษัตริยพุกามเรืองอํานาจ ทรงรวบรวมเอาพมากับมอญเขาเปนอาณาจักร

               เดียวกัน และแผขยายอาณาจักรถึงลานนา ลานชาง คือ เชียงใหม ลําพูน เชียงราย จึงรับพระพุทธศาสนา

               แบบเถรวาท หลักฐานที่ปรากฏ คือ การกอสรางเจดียแบบพมา ซึ่งปรากฏอยูตามวัดตาง ๆ
                       สมัยสุโขทัย เจริญรุงเรืองเปนปกแผนมีอาณาจักรของไทย คือ อาณาจักรลานนาและ
               อาณาจักรสุโขทัย พอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงสดับกิตติศัพทของพระสงฆลังกา ซึ่งเผยแผศาสนา

               อยูที่นครศรีธรรมราช จึงนิมนตมาที่สุโขทัย นับเปนจุดสําคัญที่ทําใหพุทธศาสนาดํารงมั่นคงมาใน
               ประเทศไทยสืบมาจนทุกวันนี้ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศไดเขามาเผยแผในประเทศไทยถึง 2 ครั้ง

               คือ ครั้งที่ 1 ในสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ในสมัยที่ 2 คือ สมัยพระยาลิไท กษัตริยทุกพระองค
               ปกครองบานเมืองดวยความสงบรมเย็น ประชาชนอยูดวยความผาสุก ศิลปะสุโขทัย มีความงดงาม

               โดยเฉพาะพระพุทธรูป ไมมีศิลปะสมัยใดงามเสมือน
                       สมัยลานนา พ.ศ. 1839 พระยามังราย ทรงสรางราชธานีชื่อ นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม

               ตั้งถิ่นฐานที่ลุมแมน้ําปง  สนับสนุนใหพุทธศาสนารุงเรืองในเมืองเชียงราย ลําพูน ลําปาง แพร นาน
               พะเยา ในสมัยพระเจาติโลกราชแหงเชียงใหม ทําการสังคายนาพระไตรปฎกเปนครั้งแรกในประเทศไทย

                       สมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธศาสนาสมัยนี้ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณเปนอันมาก
               พิธีกรรมตาง ๆ จึงปะปนกับพิธีพราหมณ ประชาชนทําบุญกุศลสรางวัดบํารุงศาสนา พระมหากษัตริยที่

               ทรงผนวช คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และทรงริเริ่มใหเจานายและขาราชการบวชเรียน ทรงรจนา
               หนังสือมหาชาติคําหลวงขึ้นในป พ.ศ. 2025 และในสมัยพระเจาทรงธรรม ไดพบรอยพระพุทธบาท

               ที่จังหวัดสระบุรี จึงโปรดใหสรางมณฑป วรรณคดีในสมัยนี้ ไดแก กาพยมหาชาติ ในสมัยพระเจาอยูหัว-
               บรมโกษฐ พ.ศ. 2275 - 2300 พุทธศาสนาไดเจริญรุงเรืองมาก พระเจาแผนดินของลังกา มีพระราชสาสน

               มาทูลเชิญพระภิกษุสงฆไปเผยแผศาสนาที่ลังกา เพราะศาสนาพุทธที่เรียกวา ลังกาวงศ นั้น เสื่อมลง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22