Page 18 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 18

10

               ไทยจึงสงพระอุบาลีไปประกาศศาสนาและเผยแผศาสนาจนรุงเรืองอีกครั้ง และเรียกศาสนาพุทธ

               ในครั้งนี้วา นิกายสยามวงศ
                       สมัยกรุงธนบุรี ปพ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาถูกพมายกทัพเขาตีจนบานเมืองแตกยับเยิน วัดวา-

               อารามถูกทําลายยอยยับ พระเจาตากสินมหาราช ทรงเปนผูนําในการกอบกูอิสรภาพ ทรงตั้งเมืองหลวงที่
               กรุงธนบุรี และทรงบูรณปฏิสังขรณวัดวาอารามและสรางวัดเพิ่มเติมอีกมากและไดอัญเชิญพระแกวมรกต

               จากเวียงจันทนมายังประเทศไทย
                       สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

               (พ.ศ. 2325 - 2352) พระองคยายเมืองหลวงมาตั้งที่กรุงเทพมหานคร และทรงปฏิสังขรณวัดตาง ๆ คือ
               การสรางวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดสุทัศนเทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

               และโปรดใหมีการสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 9 และถือเปนครั้งที่ 2 ในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน
                       รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย (พ.ศ. 2352 - 2367) ทรงบูรณะวัดอรุณ-
               ราชวราราม วัดสุทัศนเทพวราราม และฟนฟูประเพณีวิสาขบูชา

                       รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2367 - 2394) ทรงสราง 3 วัด คือ

               วัดเฉลิมพระเกียรติ วัดเทพธิดารามวรวิหาร และวัดราชนัดดารามวรวิหาร และทรงบูรณะ ปฏิสังขรณวัด
               มีจํานวนมากถึง 50 วัด  พระองคเชิดชูกําเนิดธรรมยุติกนิกาย ในป พ.ศ. 2376 เนื่องจากพระองค
               เลื่อมใสในจริยาวัตรของพระมอญ ซึ่งเปนรูปแบบนิกายธรรมยุต มีวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เปน

               ศูนยกลาง ทรงสรางพระไตรปฎกเปนจํานวนมากยิ่งกวารัชกาลใด ๆ
                       ตอมาสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2394 - 2411) ทรงสราง

               พระไตรปฎก ปฏิสังขรณวัด กําเนิดการบําเพ็ญกุศลพิธีมาฆบูชา เปนครั้งแรกที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
               และสงสมณฑูตไปลังกา

                       สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.  2411 - 2453) ทรงสราง
               พระไตรปฎกแปลจากอักษรขอมเปนอักษรไทย ปฏิสังขรณวัดตาง ๆ ทรงตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ

               และสถาปนาการศึกษาสําหรับพระสงฆ 2 แหง คือ มหามกุฏราชวิทยาลัย ที่วัดบวรนิเวศวิหาร และมหา-
               จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่วัดมหาธาตุ

                       สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.2453 - 2468) ทรงประกาศใช
               พุทธศักราชทางราชการตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2456 เปนตนมา ทรงสรางโรงเรียนและบูรณะวัดตาง ๆ

               ทรงพระราชนิพนธหนังสือทางพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธเจาตรัสรูอะไร และเทศนาเสือปา
                       สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.  2468 - 2477) ทรงพิมพระไตรปฎก

               เรียกวา "พระไตรปฎกสยามรัฐ" มีตราชางเปนเครื่องหมายเผยแพร ทรงประกวดหนังสือสอนพระพุทธศาสนา
               สําหรับเด็ก ทรงเพิ่มหลักสูตรจริยศึกษา (อบรมใหมีศีลธรรมดีงามขึ้น) แตเดิมมีเพียงหลักสูตรพุทธิศึกษา

               (ใหมีปญญาความรู) และพลศึกษา (ฝกหัดใหเปนผูมีรางกายสมบูรณ)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23