Page 21 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 21

13

               ผูใดจนตองอดอยากเพราะขาดรายไดและไมมีเงินที่จะซื้ออาหาร อบูซุฟยาน แหงตระกูลอุมัยยะห

               และอบูญะฮัล คือ สองในจํานวนหัวหนามุชริกูนที่ไดพยายามทําลายลางศาสนาอิสลาม
                       เมื่อชาวมุชริกูนเอาชนะรัฐอิสลามไมได ก็ไดมีการทําสัญญาสงบศึกกันในเดือน มีนาคม ค.ศ. 628

               เรียกสัญญาสงบศึกครั้งนั้นวา สัญญาฮุดัยบียะห
                       ตอมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 629 ชาวมักกะหไดละเมิดสัญญาสงบศึกในเดือนมกราคม

               ป ค.ศ. 630 ทานนบีจึงนําทหาร 10,000 คน เขายึดเมืองมักกะห ทานจึงประกาศนิรโทษกรรมใหชาวมักกะห
               เกือบทั้งหมด ยกเวนบางคนในจํานวนนั้นมีอัลฮะกัม แหงตระกูลอุมัยยะห ที่ทานนบีประกาศใหทุกคน

               คว่ําบาตรเขา การนิรโทษกรรมครั้งนี้ มีผลใหชาวมักกะหซาบซึ้งในความเมตตาของทาน จึงพากัน
               หลั่งไหลเขานับถือศาสนาอิสลามเปนจํานวนมาก ทานนบีมูฮัมมัดไดสิ้นชีวิต ที่เมืองมดีนะห เมื่อวันจันทร

               ที่  12  ป ค.ศ. 632 รวมอายุได 63 ป


                     การเผยแผศาสนาอิสลามเขามาสูประเทศไทย

                       จากบันทึกทางประวัติศาสตรของมุสลิม ชนชาติเปอรเซียและชนชาติอาหรับ ไดเดินทางมา
               ทางทะเลมาทําการคาขายกับเมืองไทยตั้งแตสมัยสุโขทัยแตไมมีผูใดรับราชการในราชสํานักไทย
               นอกจากชาวมุสลิมในทองถิ่นภาคใต นับตั้งแตนครศรีธรรมราชลงไปจรดปลายแหลมมลายู สิงคโปร

               และมะละกา นั้น เจาผูครองนครแทบทุกเมืองเปนชาวมุสลิมมาแตเดิม ไมปรากฏวาทางกรุงสุโขทัย
               สงคนทางสุโขทัยไปปกครองแมแตคนเดียว และเมืองตาง ๆ ทางภาคใต เปนประเทศราชของกรุงสุโขทัย

               ตองสงดอกไมเงินดอกไมทองเปนเครื่องบรรณาการตามกําหนด หากเมืองใดแข็งเมืองทางเมืองหลวง
               จะยกกองทัพไปปราบเปนครั้งคราวและอยูรวมกันอยางมีความปกติสุขเปนเวลาหลายรอยป

                       เจาพระยาบวรราชนายก ตําแหนง วางจางมหาดไทย นับวาทานเปนผูนําศาสนาอิสลาม
               นิกายชีอะหเขามาสูประเทศไทย และเปนจุฬาราชมนตรีคนแรก เมื่อทานถึงแกกรรมศพทานฝงไวที่

               สุสานบริเวณทากายี ปจจุบันเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ทานเปนตนตระกูลอหะหมัดจุฬา
               ตระกูลจุฬารัตน ตระกูลบุญนาค ตระกูลศรีเพ็ญ ตระกูลบุรานนท ตระกูลศุภมิตร ในสมัยพระเจาทรงธรรม

               มีชาวเปอรเซีย ชื่อวา ทานโมกอล อพยพครอบครัวและบริวารมาจากเมืองสาเลห เกาะชวากลาง
               เนื่องจากถูกชาติโปรตุเกสรุกราน ทานสะสมกําลัง สรางปอมคายที่บานหัวเขาแดง จังหวัดสงขลา

               เพราะตองปองกันตัวจากโจรสลัด เจาพระยานครศรีธรรมราช ซึ่งมีหนาที่ดูแลหัวเมืองภาคใตได
               รายงานเรื่องนี้ใหกรุงศรีอยุธยาทราบเรื่อง พระเจาทรงธรรม โปรดเกลาฯ แตงตั้งใหทานโมกอล เปน

               ขาหลวงผูสําเร็จราชการเมืองสงขลา เมื่อทานโมกอลถึงแกอสัญกรรมบุตรชาย คือ ทานสุลัยมาน เปน
               ผูสําเร็จราชการตอมา และเมื่อเจาพระยากลาโหมศรสุริยวงศ ปราบดาภิเษกโดยทําการประหาร

               พระเชษฐาธิราช คือ พระเจาทรงธรรม และพระโอรสสิ้นชีวิตและสถาปนาตนเปนกษัตริย ทรงพระนามวา
               พระเจาปราสาททอง ทานสุลัยมานจงรักภักดีตอพระเจาหลวง จึงไมเห็นดวย แลวประกาศแข็งเมือง
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26