Page 25 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 25

17

                             ตามเสียงอานภาษาโปรตุเกส ผูเผยแพรยุคแรก ๆ มีผูนับถือนิกายนี้ประมาณ 1,000 ลานคน

                             นิกายนี้ถือวา พระ (บาทหลวง) เปนสื่อกลางของพระเจา
                       2.  นิกายโปรเตสแตนต แยกตัวมาจากนิกายโรมันคาทอลิก ในชวงคริสตศตวรรษที่ 16

                             เปนนิกายที่ถือวา ศรัทธาของแตละคนที่มีตอพระเจาสําคัญกวาพิธีกรรม ซึ่งยังแตกยอย
                             ออกเปนหลายรอยนิกาย เนื่องจากมีความเห็นแตกตางเกี่ยวกับพระคัมภีรและการ

                             ปฏิบัติในพิธีกรรม นิกายนี้มีเพียงไมกางเขน เปนเครื่องหมายแหงศาสนาเทานั้น มีผูนับถือ
                             รวมกันทุกนิกายยอยประมาณ 500 ลานคน


               การเผยแผนิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทย

                       คริสตศาสนาที่เผยแผในไทยเปนครั้งแรกตรงกับสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งแตรัชสมัยสมเด็จ
               พระมหาธรรมราชา ประมาณ พ.ศ.  2127  (ค.ศ.  1584)  โดยนิกายแรกที่มาเผยแพร คือ นิกายโรมัน-

               คาทอลิก ซึ่งมีทั้งคณะโดมินิกัน (Dominican) คณะฟรังซิสกัน (Franciscan) และคณะเยซูอิต (Jesuit)
               บาทหลวงสวนมากมาจากโปรตุเกสและสเปน โดยเดินทางมาพรอมกับทหารและพอคา

                       ระยะแรกที่ยังถูกปดกั้นทางศาสนา มิชชันนารี จึงเนนการดูแลกลุมคนชาติเดียวกัน กระทั่ง
               รัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ประเทศไทยไดมีสัมพันธภาพอันดีกับฝรั่งเศส ตรงกับรัชสมัย

               พระเจาหลุยสที่ 4 ทําใหมีจํานวนบาทหลวงเขามาเผยแผศาสนามากขึ้น และการแสดงบทบาททาง
               สังคมมากขึ้นบางก็อยูจนแกหรือตลอดชีวิตก็มี

                       ดานสังคมสงเคราะห มีการจัดตั้งโรงพยาบาล ดานศาสนา มีการตั้งโรงเรียนสําหรับสามเณร
               คริสเตียน เพื่อผลิตนักบวชพื้นเมือง และมีการโปรดศีลบวชใหนักบวชไทยรุนแรก และจัดตั้ง คณะภคิณี

               คณะรักไมกางเขน
                       เมื่อสิ้นรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชแลว คริสตศาสนากลับไมไดรับความสะดวกใน

               การเผยแผศาสนาเชนเดิม เพราะถูกจํากัดขอบเขต ถูกหามประกาศศาสนา ถูกหามเขียนหนังสือ
               ศาสนาเปนภาษาไทยและภาษาบาลี ประกอบกับพมาเขามารุกรานประเทศไทย บาทหลวงถูกย่ํายี
               โบสถถูกทําลาย มิชชันนารีทั้งหลายรีบหนีออกนอกประเทศ การเผยแผคริสตศาสนายุติในชวงเสีย

               เอกราชใหพมา
                       กระทั่ง พระเจาตากสินมหาราช กอบกูเอกราชสําเร็จ แมการเผยแผคริสตศาสนาเริ่มตนขึ้นใหม

               แตเพราะประเทศกําลังอยูในภาวะสรางบานเมืองขึ้นใหม จึงไมกาวหนาเทาที่ควร
                       เมื่อเขาสูราชวงศจักรีแลว ชาวคริสตอพยพเขามามากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในรัชสมัย

               พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงเปดเสรีการนับถือศาสนาและทรงประกาศ
               พระราชกฤษฎีกาใหทุกคนมีสิทธิในการนับถือศาสนาใดก็ได
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30