Page 30 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 30

22

               หมวกกระบอก เขาใจวานาจะมีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 9 - 10 หรือเกาไปกวานั้น (ปจจุบันอยูที่

               พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรุงเทพมหานคร)
                       นอกจากนี้ไดพบรูปสลักพระนารายณทําดวยศิลา ที่อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี โบราณ

               สถานที่สําคัญที่ขุดพบ เชน ปราสาทพนมรุง จังหวัดบุรีรัมย ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
               พระปรางคสามยอด จังหวัดลพบุรี เทวสถานเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ ตอมาในสมัยสุโขทัย

               ศาสนาพราหมณ ไดเขามามีบทบาทมากขึ้นควบคูไปกับพุทธศาสนา ในสมัยนี้มีการคนพบเทวรูป
               พระนารายณ พระอิศวร พระพรหม พระแมอุมา พระหริหระ สวนมากเปนรูปหลอสําริด

                       นอกจากหลักฐานทางศิลปกรรมแลว ในดานวรรณคดี ไดแสดงใหเห็นถึงความเชื่อของศาสนา-
               พราหมณ เชน ตํารับทาวศรีจุฬาลักษณ หรือ นางนพมาศ หรือแมแตประเพณีลอยกระทง เพื่อขอสมา-

               ลาโทษพระแมคงคา นาจะไดอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ เชนกัน
                       ในสมัยอยุธยาเปนสมัยที่ศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลทางวัฒนธรรม ประเพณี
               เชนเดียวกับสุโขทัย พระมหากษัตริยหลายพระองคทรงยอมรับพิธีกรรมที่มีศาสนาพราหมณเขามา

               เชน พิธีแชงน้ํา พิธีทําน้ําอภิเษกกอนขึ้นครองราชสมบัติ พิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีจองเปรียง

               พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีตรียัมปวาย เปนตน โดยเฉพาะสมเด็จพระนารายณ-
               มหาราช ทรงนับถือทางไสยศาสตรมาก ถึงขนาดทรงสรางเทวรูปหุมดวยทองคํา ทรงเครื่องลงยา
               ราชาวดีสําหรับตั้งในการพระราชพิธีหลายองค ในพิธีตรียัมปวาย พระองคไดเสด็จไปสงพระเปนเจาถึง

               เทวสถานทุก ๆ ปตอมาในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน
               พิธีตาง ๆ ในสมัยอยุธยายังคงไดรับการยอมรับนับถือจากพระมหากษัตริยและปฏิบัติตอกันมา คือ

                       1.  พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
                             พระราชพิธีนี้มีความสําคัญ เพราะเปนการเทิดพระเกียรติขององคพระประมุข

               พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ไดโปรดเกลาฯ ใหผูรูแบบแผนครั้งกรุงเกาทําการคนควา
               เพื่อจะไดสรางแบบแผนที่สมบูรณตามแนวทางแตเดิมมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเพิ่มพิธีสงฆเขาไป

               ซึ่งมี 5 ขั้นตอน คือ
                             1.1  ขั้นเตรียมพิธี มีการทําพิธีเสกน้ํา การทําพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏดวงพระราช

                                  สมภพ และแกะพระราชลัญจกรประจํารัชกาล
                             1.2  ขั้นพิธีเบื้องตน มีการเจริญพระพุทธมนต

                             1.3  ขั้นพิธีบรมราชาภิเษก มีการสรงพระมุรธาภิเษก จากนั้นรับการถวายสิริราช
                                  สมบัติ และเครื่องสิริราชกกุธภัณฑ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35