Page 32 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 32

24

                       5.  พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล

                         แตเดิมมาเปนพิธีพราหมณ ภายหลังไดเพิ่มพิธีสงฆ จึงทําใหเกิดเปน 2 ตอน คือ พิธีพืชมงคล

               เปนพิธีสงฆเริ่มตั้งแตการนําพันธุพืชมารวมพิธีพระสงฆ สวดมนตเย็นที่ทองสนามหลวง จนกระทั่งรุงเชา
               มีการเลี้ยงพระตอ สวนพิธีจรดพระนังคัล เปนพิธีของพราหมณ กระทําในตอนบาย ปจจุบันนี้พิธีกรรม

               ของพราหมณที่เขามามีอิทธิพลตอสังคมไทยเริ่มลดบทบาทลงไปมาก เพราะพุทธศาสนาไดเขามามี
               อิทธิพลแทน ทั้งในพระราชพิธีและพิธีกรรมทั่ว ๆ ไปในสังคม อยางไรก็ตาม พิธีพราหมณเทาที่เหลืออยู
               และยังมีผูปฏิบัติสืบกันมา ไดแก พิธีโกนผมไฟ พิธีโกนผมจุก พิธีตั้งเสาเอก พิธีตั้งศาลพระภูมิ พิธีเหลานี้

               ยังคงมีผูนิยมกระทํากันทั่วไป ในสังคมสวนพระราชพิธีที่ปรากฏอยู ไดแก พระราชพิธีพืชมงคลจรด-

               พระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และพิธีทําน้ําอภิเษก เปนตน
                       สําหรับพิธีกรรมในศาสนาฮินดู ซึ่งเปนพราหมณใหมไมใครมีอิทธิพลมากนักแตก็มีผูนับถือ
               และสนใจรวมในพิธีกรรมเปนครั้งคราว ทั้งนี้ อาจเปนเพราะความเชื่อในพระเปนเจาตรีมูรติทั้ง 3 องค

               ยังคงอิทธิพลควบคูไปกับการนับถือพุทธศาสนา ประกอบกับในโบสถของพวกฮินดูมักจะตั้ง
               พระพุทธรูปรวม ๆ ไปกับรูปปนของพระผูเปนเจา ทั้งนี้ สืบเนื่องมาจากความเชื่อในเรื่องอวตารของ

               พระวิษณุ ทําใหคนไทยที่นับถือพุทธศาสนาบางกลุมนิยมมาสวดออนวอนขอพรและบนบาน หลายคน
               ถึงขนาดเขารวมพิธีกรรมของฮินดูจึงเขาลักษณะที่วานับถือทั้งพุทธทั้งฮินดูปนกันไป
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37