Page 36 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 36

28




























                       ประเทศที่นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาท คือ ไทย พมา ลังกา ลาว และเขมร พระพุทธศาสนา
               แบบเถรวาทนี้ ใชพระไตรปฎกเปนภาษาบาลี อานขอความตรงกันแมจะพิมพตัวอักษรตางกัน

                       มหายาน แปลวา ยานใหญ เปนนามตั้งขึ้นเพื่อแสดงวา พุทธศาสนาแบบนี้สามารถชวยให
               สัตวขามพนวัฏสงสารไดมาก มีการแกไขดัดแปลงพระธรรมวินัย นิกายนี้เกิดขึ้นเมื่อพระพุทธเจา

               ปรินิพพานแลว 100 ป มีการสังคายนาครั้งที่ 2 เพื่อแกไขความประพฤติทางวินัยบางขอและความแตกแยก
               ความคิดเห็น ซึ่งในภายหลังบางสวนกลายเปนมหายานไปนิกายมหายาน มีนามเรียกวา“อุตตรนิกาย”

               แปลวา นิกายฝายเหนือ เพราะตั้งอยูภาคเหนือของอินเดีย บางเรียกวา อาจาริยวาท แปลวา วาทะของ
               พระอาจารย เปนคําคูกับเถรวาท หมายถึง วาทะของพระเถระรุนแรกที่ทันเห็นพระพุทธเจา สวนอาจาริย-

               วาท หมายถึง วาทะของอาจารยรุนตอ ๆ มา ประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายาน คือ ทิเบต
               เวียดนาม จีน เกาหลี และญี่ปุน นอกจากนี้ยังมีประเทศสิกขิม ภูฏาน ทิเบต ทั้งนิกายเถรวาท และ

               มหายาน ตางมีหลักธรรมสวนใหญที่เขากันได คือ อริยสัจ เมื่อมีการจัดตั้งพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก
               เปนองครวมของพระพุทธศาสนาทุกนิกายเขาดวยกัน จะสงผลใหเกิดความรวมมือรวมใจกันทํางาน
               เพื่อพระพุทธศาสนาดียิ่งขึ้น

                       ตามหลักฐานของประเทศลังกาวา หลังจากทําสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 3 พระโมคคัลลีบุตร
               ติสสเถระ ภายใตพระราชูปถัมภของพระเจาอโศกมหาราช ติสสเถระดาบส ไดดําริวา พระพุทธศาสนา

               ควรตั้งโดยชอบในปจจันตประเทศทั้งหลาย จึงไดสงสมณทูตไปสูที่ตาง ๆ ดังนี้คือ
                       1.  พระมัธณัมติกเถระไปกัษมีระคันธาระ

                       2.  พระมหาเทวเถระไปมหิสัณฑละ แควนไมสอร
                       3.  พระรักขิตเถระไปวนวาสีปเทส ทางทิศเหนือแควนกันทระ

                       4.  พระโยนกธัมมรักขิตเถระไปอรันตปเทศ แควนคุชราต
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41