Page 22 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 22

14

               เมื่อ พ.ศ. 2173 สถาปนาตนเปนสุลตาน ชื่อ สุลตานสุลัยมานชาห ตลอดสมัยปรับปรุงเมืองสงขลาเปน

               เมืองทาสําคัญ มีกําลังทหารเขมแข็งทั้งทางน้ําและทางบก กรุงศรีอยุธยาเคยยกกองทัพไปปราบ 2 ครั้ง
               แตเอาชนะไมได สุลตานสุลัยมานชาห ปกครองสงขลาอยู  46  ป สรางความเจริญกาวหนาทั้งดาน

               การคา มีโกดังสินคามากมาย และการทางคมนาคม ทําใหไมตองออมเรือไปยังสิงคโปร ทําใหยนระยะทาง
               ไดมาก ทานถึงแกกรรม เมื่อ พ.ศ. 2211 ศพทานฝงไว ณ สุสานบริเวณเขาแดง ปจจุบันขึ้นทะเบียนเปน

               โบราณสถานของชาติ คนทั่วไปนับถือทานมาก เรียกทานวา ดาโตะมะหรุม หมายถึง ดาโตะผูลวงลับ
               นั่นเอง ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชดําริวา ในพระราชอาณาจักรของพระองคไมควรมีกษัตริย

               องคอื่นอีก จึงยกทัพไปปราบนครสงขลา ซึ่งสุลตานมุตตาฟา บุตรของสุลตานสุลัยมานชาห ครองอยู
               และรบชนะ สมเด็จพระนารายณมหาราช จึงใหทานสุลตานมุตตาฟา และครอบครัวยายไปอยูเมืองไชยา

               และสลายเมืองสงขลาเสีย สมเด็จพระนารายณมหาราช มิไดถือโทษสุลตานมุตตาฟา เพราะถือวาเปน
               ชวงผลัดแผนดิน ตอมาพระองคโปรดเกลาฯ ใหสุลตานมุตตาฟา เปนพระไชยา ภาษาถิ่นนามวา ยา มี
               ตําแหนงเปน “พระยาพิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม”ที่ไชยา เกิดเปนหมูบางสงขลา มีการปกหลักประตูเมือง

               เรียกวา เสาประโคน อยูกลางเมืองเปนหลักฐานมาจนทุกวันนี้ สวนนองชายของพระชายา คือ

               ทานหะซันและทานรูเซ็น โปรดเกลาฯ ใหรับราชการในกรุงศรีอยุธยาพรอมกับบุตรชายคนโต คือ เตาฟค
               ทานหะซัน ชํานาญการเดินเรือและทหารเรือ จึงโปรดเกลาฯ เปน พระยาราชบังสัน วาที่แมทัพเรือ
               ของกรุงศรีอยุธยา และตําแหนงนี้ไดสืบทอดตอเนื่องในสายสกุลของทาน นับวาโชคดีของประเทศไทย

               ที่ตลอดระยะเวลาของกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร จนถึงสมัยของพระบาทสมเด็จ-
               พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 มีขาราชการตําแหนงสําคัญ ๆ นับถือศาสนาอิสลามไมขาดสาย

               เชน ตําแหนงลักษมณา เปนภาษามาเลเซีย แปลวา นายพลเรือ ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงกรุง-
               รัตนโกสินทร เปนตําแหนงที่แตงตั้งเฉพาะคนมุสลิมเทานั้น

                       เปนที่นาสังเกตอีกอยางหนึ่งวา ศาสนาอิสลาม นิกายซุนหนี่และนิกายชีอะหในประเทศไทย
               อยูรวมกันมาตั้งแตสมัยพระเจาทรงธรรม แหงกรุงศรีอยุธยา นิกายซุนหนี่นั้นมีมาแตเดิมในแผนดิน

               สุวรรณภูมิ สวนนิกายชีอะหนั้นไดเขามาพรอมกับทานเฉกอะหมัด สมัยพระเจาทรงธรรม ทั้งสองนิกายนี้
               ผูกมิตรกันโดยมีการแตงงานระหวางกัน

                       หัวเมืองชายแดนภาคใต ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ดินแดนของไทยครอบคลุมถึงหลายหัวเมือง
               ในประเทศมาเลเซียปจจุบัน คือ ไทรบุรี (เคดาห) กลันตัน ตรังกานู ปะลิศ สวนดินแดนในเขตประเทศไทย

               ปจจุบันมีปตตานี เปนเมืองใหญ ครอบคลุมไปถึงยะลา นราธิวาส สตูล ตกอยูในประเทศราชของไทย
               ตองสงดอกไมเงินดอกไมทองเปนบรรณาการมายังกรุงศรีอยุธยามาโดยตลอด บางครั้งเมื่อมีการผลัด

               แผนดินโดยการปราบดาภิเษก เจาเมืองเหลานั้นมักถือโอกาสแข็งเมือง ตั้งตนเปนอิสระบอยครั้ง ทาง
               กรุงศรีอยุธยาตองสงกองทัพไปปราบ เมื่อปราบแลวไดกวาดตอนคนมากรุงศรีอยุธยาดวย เชน ที่ตําบล

               คลองตะเคียน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีชาวมุสลิมเชื้อสายปตตานีจํานวนมาก สวนชาวมุสลิม
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27