Page 80 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 80

72

                          5) คอเคซอยด เปนพวกผิวขาว หนาตารูปรางสูงใหญ อยางชาวยุโรป แตตา และผมสีดํา

               สวนใหญอาศัยอยูในเอเชียตะวันออก และทางภาคเหนือของอินเดีย ไดแก ชาวอาหรับ ชาวปากีสถาน
               ชาวอินเดีย และประชากรในเนปาล และภูฏาน


                     2.2  สิ่งที่มีอิทธิพลสําคัญตอวัฒนธรรมของเอเชีย

                            สิ่งที่มีอิทธิพลสําคัญตอวัฒนธรรมของเอเชีย คือ ภาษาและอิทธิพลของอารยธรรม
               ภายนอกหรืออารยธรรมจากตางชาติ

                          1) วัฒนธรรมทางภาษา
                             ลักษณะสําคัญทางภาษาในภูมิภาคนี้ มีประชากรหลายเชื้อชาติ หลายวัฒนธรรม จึงทําให

               มีภาษาพูด ภาษาเขียน แตกตางกันไปหลายกลุม คือ
                             1. ภาษามาลาโย – โพรีเนเชียน ไดแก ภาษาพูดกันในแหลมมาลายู หมูเกาะอินโดนีเชีย

               และภาษาตากาลอก ในหมูเกาะฟลิปปนส
                             2. ภาษาออสโตร – เอเชียติก ไดแก ภาษามอญ เขมร เวียดนาม

                             3. ภาษาทิเบโต – ไชนิส ไดแก ภาษาพมา ภาษาไทย
                             4. ภาษาอื่น ๆ เชน ภาษาฮินดี ภาษาจีน ภาษาอาหรับ ภาษาของชาวตะวันตก

               โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งใชในการติดตอระหวางประเทศ ทางการศึกษา และการคา
                          สําหรับภาษาเขียนหรือตัวหนังสือ มี 4 ลักษณะ คือ

                          1. ดัดแปลงมาจากตัวหนังสือของอินเดีย ภาคใตใชกันมาก ในประเทศที่นับถือ
               พระพุทธศาสนา เชน พมา ไทย ลาว กัมพูชา

                          2. ดัดแปลงมาจากภาษาอาหรับ ใชกันมากในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม เชน
              มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย

                          3. ตัวหนังสือที่อาศัยแบบของตัวหนังสือจีน มีทั้งที่ดัดแปลงมาใช และนําตัวหนังสือจีนมา
               ใชโดยตรง มีใชกันมากในประเทศเวียดนาม สวนกลุมที่ใชภาษาจีน เปนภาษาพูด เชน สิงคโปร กลุม
               พอคาชาวจีนในทุกประเทศ นิยมใชภาษาจีน เปนทั้งภาษาเขียนและภาษาพูด

                          4. ตัวหนังสือโรมัน ใชกันมากในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส สวนในเวียดนาม
               ก็เคยนํามาใชเหมือนกัน แตปจจุบันนิยมใชในชนบทบางกลุมเทานั้น


                          2) อิทธิพลของอารยธรรมภายนอกหรืออารยธรรมจากตางชาติ ไดแก

                             อารยธรรมอินเดีย
                             มีหลายดาน เชน กฎหมาย อักษรศาสตร ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี

               การปกครอง การเกษตร เปนตน
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85