Page 107 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 107

107



                            แมวาจะมีกฎหมายและหนวยงานที่คอยควบคุมการผลิตและการขายยาแผนโบราณเพื่อคุมครองให
                   ผูบริโภคปลอดภัยจากการใชยาแผนโบราณ แตก็ไมสามารถที่จะขจัดปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นได ไมวาจะเปนการ
                   ลักลอบผลิตและขายยาแผนโบราณโดยไมไดขออนุญาตผลิตและขายจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

                   หรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด การขายยาแผนโบราณที่ไมไดขึ้นทะเบียนหรือยาปลอม

                   อันตรายจากการรับประทานยาแผนโบราณที่ไมไดขึ้นทะเบียนหรือยาปลอม
                            ในปจจุบันพบวา มียาแผนโบราณที่ไมไดขึ้นทะเบียนหรือยาปลอมกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภคได
                   เชน มีการปนเปอนของจุลินทรียที่กอใหเกิดโรค หรือการนําสารเคมีที่ไมปลอดภัยตอผูบริโภคมาใสในยาแผน

                   โบราณ เชน เมธิลแอลกอฮอล คลอโรฟอรม การใสยาแกปวด แผนปจจุบัน เชน อินโดเมทาซิน หรือแมแตการนํา
                   ยาเฟนิลบิวตาโวนและสเตียรอยด ซึ่งเปนยาควบคุมพิเศษ ซึ่งมีผลขางเคียงสูงผสมลงในยาแผนโบราณ เพื่อให
                   เกิดผลในการรักษาที่รวดเร็ว แตจะทําใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค คือ ทําใหเกิดโรคกระดูกผุ โรคความดันโลหิต

                   สูง โรคเบาหวาน และโรคกระเพาะได เปนตน

                   การเลือกซื้อยาแผนโบราณ
                            เพื่อความปลอดภัยในการใชยาแผนโบราณ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา     ขอแนะนํา

                   วิธีการเลือกซื้อยาแผนโบราณ ดังนี้
                                 1.  ควรซื้อยาแผนโบราณจากรานขายยาที่มีใบอนุญาตและมีเลขทะเบียนตํารับยา
                                 2.  ไมควรซื้อยาแผนโบราณจากรถเรขาย เพราะอาจไดรับยาที่ผลิตขึ้นโดยผูผลิต              ที่

                   ไมไดมาตรฐาน ซึ่งอาจมีการปนเปอนของจุลินทรียในระหวางการผลิตอาจทําใหเกิดอันตรายตอผูบริโภคได
                                 3.  กอนซื้อยาแผนโบราณ ควรตรวจดูฉลากยาทุกครั้งวามีขอความดังกลาวนี้หรือไม
                                           ชื่อยาเลขที่หรือรหัสใบสําคัญการขึ้นทะเบียนยา ปริมาณของยาที่บรรจุเลขที่

                   หรืออักษรแสดงครั้งที่ผลิต
                                           ชื่อผูผลิตและจังหวัดที่ตั้งสถานที่ผลิตยาวัน เดือน ป ที่ผลิตยา คําวา              “ยา
                   แผนโบราณ” ใหเห็นไดชัดเจน

                                           คําวา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเฉพาะที่” แลวแตกรณี ดวยอักษรสีแดงเห็น
                   ไดชัดเจน ในกรณีเปนยาใชภายนอกหรือยาใชเฉพาะที่ คําวา “ยาสามัญประจําบาน” ในกรณีเปนยาสามัญประจํา

                   บาน คําวา “ยาสําหรับสัตว” ในกรณีเปนยาสําหรับสัตว

                   วิธีสังเกตเลขทะเบียนตํารับยาแผนโบราณ มีดังนี้
                                 1.  หากเปนยาแผนโบราณที่ผลิตในประเทศ จะขึ้นตนดวยอักษร G  ตามดวยเลขลําดับที่

                   อนุญาต/ป พ.ศ. เชนเลขทะเบียน G20/42
                                 2.  หากเปนยาแผนโบราณที่นําเขาจากตางประเทศ จะขึ้นตนดวยอักษร K ตามดวยเลขลําดับ
                   ที่อนุญาต/ป พ.ศ. เชนเลขทะเบียน D15/42 สําหรับการโฆษณายาทุกชนิดไมวาจะเปนยาแผนโบราณหรือแผน

                   ปจจุบัน ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 มาตรา 88 โดยสรุปคือ หามโฆษณาโออวดสรรพคุณวา สามารถบําบัด
                   บรรเทา รักษาหรือปองกันไดอยางศักดิ์สิทธิ์หรือหาย นอกจากนี้ยังหามโฆษณาเปนเท็จหรือเกิดความจริง หาม
                   โฆษณาสรรพคุณยาวาสามารถบําบัดบรรเทา รักษาหรือปองกันโรคหรืออาการของโรคที่รัฐมนตรีประกาศตาม

                   มาตรา 77 ไดแก โรคเบาหวาน มะเร็ง อัมพาต วัณโรค          โรคเรื้อน โรคหรืออาการโรคของสมอง หัวใจ ปอด
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112