Page 109 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 109

109



                                     ลําตนใตดิน (Underground Stem) จะมีลักษณะคลายราก แตจะมีขนาดใหญ มีรูปรางตาง ๆ
                   ซึ่งเราเรียกสวนที่อยูใตดินวา “หัว” หรือ “เหงา”

                                 3.  ใบ (Leaf)   ใบของพืชจะมีรูปรางแตกตางกันไป เชน รูปเรียวยาว รูปรี รูปไข รูปใบหอก

                   รูปหัวใจ รูปไต รูปโล  เปนตน
                                 4.  ดอก (Flower)  ดอกไมจะประกอบดวย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู และเกสรตัวเมีย ซึ่ง

                   จะติดอยูบนฐานรองดอก
                                 5.  ผล (Fruit)  อาจเรียกเปนผลหรือเปนฝกก็ได











                   สมุนไพรไทยที่ควรรูจัก
                                 สมุนไพรไทยที่จะกลาวในที่นี้จะกลาวเฉพาะชื่อของพืชที่สามารถนํามาใชเปนยาในการรักษา

                   ปองกัน และเสริมสรางสุขภาพได ซึ่งสมุนไพรไทยนั้นมีจํานวนมากมายมหาศาล ตอไปนี้                 จะกลาว
                   เฉพาะที่เราไดพบเห็นกันอยูบอย ๆ บางครั้งอาจคิดไมถึงวาเปนสมุนไพร พอจะยกตัวอยางไดดังนี้
                                 กระเทียม  หอม  กระชาย  กะเพรา  กระวานไทย  กานพลู  ขา ขิง  ขมิ้นชัน  ดีปลี  ตะไคร

                   พริกไทย  มะละกอ  สับปะรด  กลวยน้ําวา  ขี้เหล็ก  ฝกคูน  ชุมเห็ดเทศ  ชุมเห็ดไทย  มะขาม  มะขามเทศ
                   มะขามปอม  หญาคา  หญาหนวดแมว  หญาปกกิ่ง  วานหางจระเข  ใบบัวบก  ใบพลับพลึง  ใบแมงลัก

                   เพชรสังฆาต  ฝรั่ง  ทับทิม  มังคุด  ฟาทะลายโจร  ยอ  ผักคราดหัวแหวน  บอระเพ็ด  ชิชาลาลี  ยานาง  กระเจี๊ยบ
                   แดง  ขลู  ออยแดง  มะกรูด  มะนาว  แวงเครือ  เพกา  มะแวง  ตนไพล  พลู  ชองระอา  หญาปลองทอง  วาน
                   มหากาฬ  ผักบุงทะเล  สาบเสือ  กะเม็ง  วานหางชาง  เหงือกปลาหมอ  ทองพันชั่ง  ประคําดีควาย  พญาไรใบ

                   นอยหนา  สมปอย  เอ็นออน  วานชักมดลูก  หนุมานประสานกาย  วานน้ํา  แกนขนุน  ชะลูด  เปราะหอม  วานนาง
                   คํา


                   วิธีใชสมุนไพร
                                 สมุนไพรที่มีการนํามาใชในปจจุบันนี้มักนํามาปรุงเปนยาเพื่อใชรักษา ปองกัน และสรางเสริม
                   สุขภาพ แตสวนมากจะเปนการรักษาโรค ที่พบมากมีดังนี้


                                 1.  ยาตม  อาจเปนสมุนไพรชนิดเดียวหรือหลาย ๆ ชนิดก็ไดที่นํามาตม เพื่อใหสาระสําคัญที่
                   มีในสมุนไพรละลายออกมาในน้ํา วิธีเตรียมทําโดยนําสมุนไพรมาใสลงในหมอ ซึ่งอาจเปนหมอดินหรือหมอที่

                   เปนอะลูมิเนียม สเตนเลสก็ได แลวใสน้ําลงไปใหทวมสมุนไพร แลวจึงนําไปตั้งบนเตาไฟ ตมใหเดือดแลวเคี่ยวตอ
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114