Page 113 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 113
113
- คําวา “ยาแผนโบราณ” ใหเห็นชัดเจน
- คําวา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเฉพาะที่” แลวแตกรณีดวยอักษรสีแดง เห็นได
ชัดเจน ในกรณีที่เปนยาใชภายนอก หรือยาใชเฉพาะที่
- คําวา “ยาสามัญประจําบาน” ในกรณีเปนยาสามัญประจําบาน
- คําวา “ยาสําหรับสัตว” ในกรณีเปนยาสําหรับสัตว
อยางไรก็ตามในกรณีที่ฉลากบนภาชนะบรรจุยาแผนโบราณมีขนาดเล็กตั้งแต 3
ตารางนิ้วลงมาผูผลิตจะไดรับการยกเวนใหไมตองแสดงบางขอความที่กลาวขางตน อยางไรก็ตาม ฉลากยาแผน
โบราณอยางนอยจะตองแสดงขอความ ชื่อยา เลขทะเบียนตํารับยา วันเดือนปที่ผลิตใหผูบริโภครับทราบ
วิธีสังเกตเลขทะเบียนตํารับยาแผนโบราณ มีดังนี้
1. หากเปนยาแผนโบราณที่ผลิตในประเทศ จะขึ้นตนดวยอักษร G ตามดวยเลขลําดับที่
อนุญาต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบียน G20/42
2. หากเปนยาแผนโบราณที่นําเขาจากตางประเทศ จะขึ้นตนดวยตัวอักษร K ตามดัวยเลข
ลําดับที่อนุญาต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบียน K15/42
3. หากเปนยาแผนโบราณที่แบงบรรจุ จะขึ้นตนดวยตัวอักษร H ตามดวยเลขลําดับ ที่
อนุญาต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบียน H999/45
พบปญหาหรือมีขอสงสัยเกี่ยวกับยาแผนโบราณติดตอที่ใด
1. พบยาแผนโบราณที่ไมมีเลขทะเบียนตํารับ
2. พบการขายยาจากรถเรขาย การขายยาตามวัด แผงลอยและตลาดนัด และสงสัยวาเปนยา
ปลอม
3. พบการโฆษณายาแผนโบราณที่โออวดสรรพคุณวาสามารถบําบัด บรรเทา รักษาหรือ
ปองกันโรคไดอยางศักดิ์สิทธิ์หรือหายขาด
4. สงสัยเกี่ยวกับยาแผนโบราณทานสามารถติดตอไปไดที่สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุก
แหง หรือสํานักงานคณะกรรมการอาหารและโปรดอยาลืม....... ซื้อยาแผนโบราณครั้งใดตองซื้อจากรานขายยาที่มี
ใบอนุญาตเทานั้น และตรวจสอบฉลากใหรอบคอบกอนซื้อ วายานั้นมีเลขทะเบียนตํารับยาที่ถูกตอง
2.2 อันตรายจากการใชยาสมุนไพร
การใชสมุนไพรเพื่อการบํารุงสุขภาพและรักษาโรคไดสืบทอดมาชานาน ปจจุบันไดรับความ
นิยมมากขึ้น และไดรับการสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุข โดยมีการศึกษาคนควาอยางจริงจัง เชน การ
สงเสริมใหใชยาสมุนไพรและการบริการทางการแพทยแผนไทยในโรงพยาบาลทั่วไป
ผลิตภัณฑสมุนไพรทั่วไปจัดอยูในจําพวกอาหารหรือสวนประกอบอาหารที่ฉลาก ไม
ตองระบุสรรพคุณทางการแพทยหรือขนาดรับประทาน ดังนั้น ผูใชผลิตภัณฑสมุนไพรสวนมากจึงตองศึกษาจาก
หนังสือหรือขอคําปรึกษาจากผูรูหรือแพทยทางเลือก เชน แพทยแผนไทย แพทยแผนจีน เปนตน
สําหรับสมุนไพรที่ใชเปนยาสวนมากจะทําในรูปชา สําหรับใชชงดื่ม ซึ่งมักมีรสขม หรือมีรส
เฝอน ทั้งนี้ไมควรหลงเชื่อชาสมุนไพรรสดีที่มีขายทั่วไป เพราะมักมียาสมุนไพรผสมอยูนอยมาก นอกจากนี้ยา