Page 117 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 117

117



                   ดวย ทั้งนี้ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา แตไมหมายความถึงยาสามัญประจําบานบางตําราตาม
                   กฎหมายวาดวยยาที่มียาเสพติดใหโทษผสมอยู


                   1.3  ประเภทของสารเสพติด
                                 ยาเสพติดใหโทษแบงได 5 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135        (พ.ศ.

                   2539) เรื่องระบุชื่อและประเภทยาเสพติดใหโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522] ดังนี้
                                 1.  ยาเสพติดใหโทษประเภท 1  เชน เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีน เอ็มดีเอ็มเอ (ยาอี) ยาเสพติด
                   ใหโทษประเภทนี้ไมใชประโยชนทางการแพทย
                                 2.  ยาเสพติดใหโทษประเภท 2 เชน มอรฟน โคเคอีน เพทิดีน เมทาโดน และฝน ยาเสพติด

                   ใหโทษประเภทนี้มีประโยชนทางการแพทย แตก็มีโทษมาก ดังนั้นจึงตองใชภายใตความควบคุมของแพทย และ
                   ใชเฉพาะในกรณีที่จําเปนเทานั้น

                                 3.  ยาเสพติดใหโทษประเภท 3 เปนยาสําเร็จรูปที่ผลิตขึ้นตามทะเบียนตํารับ ที่ไดรับอนุญาต
                   จากกระทรวงสาธารณสุขแลว มีจําหนายตามรานขายยา ไดแก ยาแกไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน หรือยาแกทองเสียที่มีตัว
                   ยาไดเฟนอกซิน เปนตน  ยาเสพติดใหโทษประเภท 3 มีประโยชนทางการแพทย และ         มีโทษนอยกวายาเสพ

                   ติดใหโทษอื่น ๆ
                                 4.  ยาเสพติดใหโทษประเภท 4  เปนน้ํายาเคมีที่นํามาใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษประเภท
                   1 ไดแก น้ํายาเคมี อาซิติกแอนไฮไดรด อาซิติลคลอไรด เอทิลิดีน ไดอาเซเตท สารเออรโกเมทรีน และคลอซูโดอีเฟด

                   รีน ยาเสพติดใหโทษประเภทนี้สวนใหญไมมีการนํามาใชประโยชนในการบําบัดรักษาอาการของโรคแตอยางใด
                                 5.  ยาเสพติดใหโทษประเภท 5  ไดแก พืชกัญชา พืชกระทอม พืชฝน และพืชเห็ดขี้ควาย ยา

                   เสพติดใหโทษประเภทนี้ไมมีประโยชนทางการแพทย
                                 พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ กําหนดบทลงโทษสําหรับผูทําการผลิต นําเขา สงออก
                   จําหนาย มีไวครอบครอง และการเสพยาเสพติดใหโทษประเภท 1, 2, 3 และ 5 นอกจากนี้ยังมีบทลงโทษสําหรับผู

                   ยุยง หรือสงเสริม หรือกระทําการใด ๆ อันเปนการชวยเหลือ หรือใหความสะดวกในการที่ผูอื่นเสพยาเสพติดให
                   โทษ
                                 การเสพ หมายถึง การรับยาเสพติดใหโทษเขาสูรางกายไมวาดวยวิธีการใด ๆ เชน รับประทาน

                   สูดดม ฉีด
                                 ผูติดยาเสพติดใหโทษ ถาสมัครเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลที่กระทรวง
                   สาธารณสุขกําหนดเปนสถานพยาบาลสําหรับบําบัดรักษาผูติดยา กอนที่ความผิดจะปรากฏและไดปฏิบัติครบถวน

                   ตามระเบียบของสถานพยาบาลแลว กฎหมายจะเวนโทษสําหรับการเสพยา
                                 วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท หรือวัตถุออกฤทธิ์ ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิต

                   และประสาท พ.ศ. 2518 ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2528) ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2535) หมายถึง “วัตถุที่ออกฤทธิ์        ตอจิตและ
                   ประสาทที่เปนสิ่งธรรมชาติหรือไดจากสิ่งธรรมชาติ หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท          ที่เปนวัตถุ

                   สงเคราะห ทั้งนี้ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา”
                                 วัตถุออกฤทธิ์แบงได 4 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 97 (พ.ศ. 2539) เรื่อง
                   ระบุชื่อและจัดแบงประเภทวัตถุออกฤทธิ์ตามความในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท พ.ศ.

                   2518]  ดังนี้
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122