Page 118 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 118

118



                                 1.  วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 1    มีความรุนแรงในการออกฤทธิ์มาก ทําใหเกิดอาการ
                   ประสาทหลอน ไมมีประโยชนในการบําบัดรักษาอาการของโรค ไดแก ไซโลไซบัน และเมสคาลีน

                                 2.  วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 2   เชน ยากระตุนระบบประสาท เชน อีเฟดรีน เฟเนทิลลีน เพ
                   โมลีน และยาสงบประสาท เชน ฟลูไนตราซีแพม มิดาโซแลม ไนตราซีแพม วัตถุประเภทนี้มีการนําไปใชในทาง

                   ที่ผิด เชน ใชเปนยาแกงวง ยาขยัน หรือเพื่อใชมอมเมาผูอื่น
                                 3.  วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 3   ใชในรูปยารักษาอาการของโรค สวนใหญเปนยากด
                   ระบบประสาทสวนกลาง เชน เมโพรบาเมต อะโมบารบิตาล และยาแกปวด เพตาโซซีน การใชยาจําพวกนี้

                   จําเปนตองอยูในความควบคุมดูแลของแพทย
                                 4.  วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 4   ไดแก ยาสงบประสาท/ยานอนหลับ ในกลุมของ
                   บารบิตูเรต เชน ฟโนบารบิตาล และเบ็นโซไดอาซีปนส เชน อัลปราโซแลม ไดอาซีแพม สวนใหญ               มีการ

                   นํามาใชอยางกวางขวาง ทั้งนี้เพื่อบําบัดรักษาอาการของโรค และการนํามาใชในทางที่ผิด การใชยาวัตถุออกฤทธิ์
                   ประเภทนี้ตองอยูภายใตการควบคุมของแพทยเชนเดียวกับการใชวัตถุออกฤทธิ์ประเภท 3
                                 สารระเหย  ตามพระราชกําหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 หมายถึง “สารเคมี หรือ

                   ผลิตภัณฑที่รัฐมนตรีประกาศวาเปนสารระเหย”
                                 สารระเหย เปนสารเคมี 14 ชนิด และผลิตภัณฑ 5 ชนิด [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข

                   กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2538) เรื่องกําหนดชื่อ ประเภท ชนิด หรือขนาดบรรจุของสารเคมี หรือ
                   ผลิตภัณฑเปนสารระเหย]
                                 สารเคมี 14 ชนิด ไดแก อาซีโทน เอทิลอาซีเตท โทลูอีน เซลโลโซลฟ ฯลฯ

                                 ผลิตภัณฑ 5 ชนิด ไดแก ทินเนอร แลคเกอร กาวอินทรียสังเคราะห กาวอินทรียธรรมชาติ
                   ลูกโปงวิทยาศาสตร


                                 การติดยากับการเสพยา
                                 องคการอนามัยโลกไดใหการนิยามของภาวะที่เกี่ยวของกับยาเสพติดไว ดังนี้
                                 1.  การใชยาในทางที่ผิด (Harmful use, abuse) หมายถึง การใชยาเสพติดในลักษณะอันตรายตอ

                   สุขภาพ ทั้งทางดานรางกายและดานจิตใจ เชน ภาวะซึมเศราจากการดื่มสุราอยางหนัก
                                 2.  การติดสารเสพติด (Depenedence syndrome) หมายถึง ภาวะผิดปกติทางดานปญญา ความคิด

                   อาน และระบบสรีระรางกายซึ่งเกิดภายหลังจากการใชสารเสพติดซ้ํา ๆ และมีอาการตาง ๆ ดังตอไปนี้รวมดวย
                                     1)  มีความตองการอยางรุนแรงที่จะใชสารตัวนั้น ๆ
                                     2)  มีความยากลําบากในการควบคุมการใชทั้งปริมาณและความถี่

                                     3)  ยังคงใชสารนั้นตอไปทั้ง ๆ ที่รูวาจะเปนอันตรายตอรางกาย
                                     4)  หมกมุนอยูกับการใชสารเสพติดมากกวาการทํากิจกรรมอื่นที่สําคัญกวา
                                     5)  มีอาการดื้อยา คือ ตองเพิ่มปริมาณการใช เพื่อใหไดผลเทาเดิม

                                     6)  เมื่อหยุดการใชยาจะเกิดอาการขาดยาหรืออยากยาทางรางกาย (Physical with)
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123