Page 161 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 161

161



                   เรื่องที่ 1  ความหมายของทักษะชีวิต


                                 คําวา  ทักษะ (Skill)  หมายถึง  ความชัดเจน และความชํานิชํานาญในเรื่องใดเรื่อง

                   หนึ่ง ซึ่งบุคคลสามารถสรางขึ้นไดจากการเรียนรู ไดแก ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทํางาน

                   รวมกับผูอื่น การอาน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร ทักษะทางภาษา ทักษะทางการใช
                   เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเปนทักษะภายนอกที่สามารถมองเห็นไดชัดเจนจากการกระทํา หรือจากการ

                   ปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาวนั้นเปนทักษะที่จําเปนตอการดํารงชีวิต ที่จะทําใหผูมีทักษะเหลานั้นมีชีวิต

                   ที่ดี สามารถดํารงชีพอยูในสังคมได โดยมีโอกาสที่ดีกวาผูไมมีทักษะดังกลาว ซึ่งทักษะประเภทนี้
                   เรียกวา Livelihood skill  หรือ Sikll for living  ซึ่งเปนคนละอยางกับทักษะชีวิต ที่เรียกวา Life skill

                   (ประเสริฐ ตันสกุล)  ดังนั้น ทักษะชีวิต หรือ Life skill จึงหมายถึง คุณลักษณะ หรือความสามารถ

                   เชิงสังคม จิตวิทยา (Phychosoclal competence)  ที่เปนทักษะภายในที่จะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญ

                   สถานการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมพรอมสําหรับการ
                   ปรับตัวในอนาคต ไมวาจะเปนเรื่องการดูแลสุขภาพ เอดส ยาเสพติด ความปลอดภัย สิ่งแวดลอม

                   คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพื่อใหสามารถมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข หรือจะกลาวงาย ๆ

                   ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถในการแกปญหาที่ตองเผชิญในชีวิตประจําวัน เพื่อใหอยูรอด
                   ปลอดภัย และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข



                   1.1  องคประกอบของทักษะชีวิต

                                 องคประกอบของทักษะชีวิต จะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรม และสถานที่ แต
                   ทักษะชีวิตที่จําเปนที่สุดที่ทุกคนควรมี ซึ่งองคการอนามัยโลกไดสรุปไว และถือเปนหัวใจสําคัญใน

                   การดํารงชีวิต คือ

                                 1.  ทักษะการตัดสินใจ  (Decision  making)    เปนความสามารถในการตัดสินใจ
                   เกี่ยวกับเรื่องราวตาง ๆ ในชีวิตไดอยางมีระบบ เชน ถาบุคคลสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการกระทํา

                   ของตนเองที่เกี่ยวกับพฤติกรรมดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือก และ

                   ผลที่ไดจากการตัดสินใจเลือกทางที่ถูกตองเหมาะสม ก็จะมีผลตอการมีสุขภาพที่ดีทั้งรางกาย และ
                   จิตใจ

                                 2.  ทักษะการแกปญหา  (Problem  Solving)  เปนความสามารถในการจัดการกับ

                   ปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตไดอยางมีระบบ ไมเกิดความเครียดทางกาย และจิตใจ จนอาจลุกลามเปน

                   ปญหาใหญโตเกินแกไข
                                 3.  ทักษะการคิดสรางสรรค  (Creative thinking)  เปนความสามารถในการคิดที่จะ

                   เปนสวนชวยในการตัดสินใจ และแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือกตาง ๆ
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166