Page 351 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 351

350






                            การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบต่าง ๆ มี 2 ลักษณะ ดังนี้
                            1.  การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม

                            การต่อแบบอนุกรมเป็นวงจรที่มีอุปกรณ์ไฟฟ้ าเชื่อมต่อกันกับแหล่งก าเนิดไฟฟ้ า จากอุปกรณ์

                     หนึ่งไปยังอุปกรณ์อื่น ๆ โดยตรง มีรูปแบบเป็นวงจรเดียว ข้อเสียของการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้ าแบบอนุกรม
                     ก็คือ ถ้าอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งเสียก็จะท าให้กระแสไฟฟ้ าในวงจรหยุดไหลไม่สามารถใช้อุปกรณ์อื่น

                     ได้












                            สรุปลักษณะส าคัญของการต่อความต้านทานแบบอนุกรม
                            1.  สามารถหาค่าความต้านทานได้โดยการรวมกัน ดังนั้นความต้านทานรวมจะมีค่ามากขึ้น

                            2.  ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัวเท่ากับกระแสไฟฟ้าในวงจร

                            3.  ความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของตัวต้านทานจะเท่ากับผลบวกของความต่าง

                     ศักย์ไฟฟ้า ระหว่างปลายทั้งสองของตัวต้านทานจะเท่ากับผลบวกของความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลาย
                     ทั้งสองของตัวต้านทานแต่ละตัว

                            2.  การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน

                            การต่อแบบขนานเป็นวงจรไฟฟ้าที่แยกอุปกรณ์แต่ละชนิดในการเชื่อมต่อกันกับแผล่งก าเนิด
                     ไฟฟ้า มีลักษณะของรูปแบบวงจรหลาย ๆ วงจร ในวงจรรวมดังแผน ข้อดีของการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า

                     แบบขนานก็คือ ถ้าอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่งเสีย หรือช ารุด อุปกรณ์อี่นก็ยังมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้
















                            การต่อหลอดไฟฟ้า 2 หลอด ที่ต่อโดยให้ขั้วทั้งสองของหลอดไฟฟ้าหลอดหนึ่งคร่อมขั้วทั้งสอง

                     ของอีกหลอดหนึ่ง เราเรียกว่า การต่อแบบขนาน กระแสไฟฟ้าจากแหล่งก าเนิดที่ไหลเข้าไปในวงจรจะ
                     ถูกแบ่งให้ไหลเข้าไปในอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ด้วยปริมาณที่ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับความต้านทานของ
   346   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356