Page 355 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 355

354




                     การเดินสายไฟมักจะใช้วิธีเดินสายร้อยท่อ  ซึ่งฝังอยู่ภายในผนัง  หรือเหนือเพดานขณะที่การเดินท่อน ้า
                     จะใช้วิธีเดินท่อฝัง อยู่ภายในผนัง หรือใต้พื้น เพื่อซ่อนความรกรุงรัง ของสายไฟ  และท่อน ้าเอาไว้  การ

                     เดินสายไฟและท่อน ้าแบบฝังนี้แม้จะเพิ่มความสวยงาม  และความเป็นระเบียบเรียบร้อย  ให้แก่ตัวบ้าน

                     แต่ก็มีข้อเสียแฝงอยู่  เพราะถ้าเกิดปัญหาไฟช็อต  ไฟรั่ว  หรือท่อน ้ารั่ว  ซึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจาก  การใช้

                     วัสดุที่ด้อยคุณภาพ  การติดตั้งอย่างผิดวิธี  หรือการช ารุดเสียหายอันเนื่องมาจากการใช้งานก็ตาม  การ
                     ตรวจสอบ  หรือการซ่อมแซมย่อมท าได้ล าบาก  อาจถึงขั้นต้องท า  การรื้อฝ้าเพดานรื้อก าแพงหรือพื้นที่

                     บางส่วนเพื่อท าการตรวจสอบและ  แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น  ซึ่งท าให้เกิด  ความเสียหายต่อตัวบ้าน

                     เสียเวลา  และเสียค่าใช้จ่ายสูงในการวางระบบไฟฟ้ า  วิธีหลีกเลี่ยงปัญหาข้างต้นอย่างง่ายๆวิธีหนึ่งก็คือ
                     การเลือกเดินสายไฟแบบลอย ซึ่งอาจจะดูไม่เรียบร้อยนัก และเหมาะส าหรับ อาคารบ้านเรือนขนาดเล็ก

                     เท่านั้น แต่ส าหรับผู้ที่ต้องการความประณีตสวยงามหรือบ้านขนาดใหญ่ที่มีการเดินสายไฟ  เป็นจ านวน

                     มาก  การเดินสายไฟแบบฝัง  ดูจะมีความเหมาะสมกว่า  อย่างไรก็ตาม  ปัญหาต่างๆ  ดังกล่าวอาจจะ
                     ป้ องกันหรือท าให้  ลดน้อยลงได้โดยการเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพ  ใช้วัสดุที่ถูกต้อง  และมีขนาดที่

                     เหมาะสม รวมทั้งมีการติดตั้งอย่างถูกวิธีและมีระบบ แบบแผน

                            ข้อแนะน าในการออกแบบระบบวงจรไฟฟ้ าภายใน

                              ระบบวงจรไฟฟ้าภายในบ้านควรแยกวงจรควบคุมพื้นที่ต่างๆ เป็นส่วนๆ เช่น แยกตามชั้น
                     หรือแยกตามประเภทของการใช้ไฟฟ้า ท าให้ง่ายต่อการซ่อมแซมในกรณีไฟฟ้าขัดข้อง ห้องควรแยกไว้

                     ตะหากเพราะหากต้องดับไฟในบ้าน เพื่อซ่อมแซมจะได้ไม่ต้องดับไฟห้องครัวที่มีตู้เย็นที่แช่อาหารไว้

                     อาหารจะได้ไม่เสีย


                     7. การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างง่าย

                            ไฟฟ้ าแสงสว่าง

                            -  ติดตั้งจ านวนหลอดไฟฟ้าเท่าที่จ าเป็นและเหมาะสมกับการใช้งาน

                            -  ใช้หลอดไฟฟ้าชนิดที่ใช้แสงสว่างมากแต่กินไฟน้อย  และมีอายุกี่ใช้งานยาวนานกว่า  เช่น

                                หลอดฟูออเรสเซนต์  หลอดคอมแพคท์  เป็นต้น

                            -  ท าความสะอาดหลอดไฟฟ้าหรือโคมไฟเป็นประจ า

                            -  ตกแต่งภายในอาคารสถานที่โดยใช้สีอ่อนเพื่อเพิ่มการสะท้อนของแสง

                            -  ปิดสวิตซ์หลอดไฟฟ้าทุกดวงเมื่อเลิกใช้งาน


                            พัดลม
                            -  เลือกขนาดและแบบให้เหมาะสมกับการใช้งาน

                            -  ปรับระดับความเร็วลมพอสมควร
   350   351   352   353   354   355   356   357   358   359   360