Page 354 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 354
353
เดิมของสายที่เดินอยู่แล้ว ในกรณีที่มีสายแบบเดินลอยอยู่แล้ วให้ใช้แนวสายไฟเดิมก็ได้ แล้วค่อยแยก
เข้าต าแหน่งที่ต้องการ
ขั้นตอนที่ 2
การเดินแนวใหม่ ควรเดินลากจากจุดต่อขึ้นบนเพดาน ก่อนแล้วจึงเดินลงต าแหน่งที่ต้องการวัด
ระยะจากข อบผนัง แล้วตีแนวสายไฟด้วยด้ายตีเส้น
ขั้นตอนที่ 3
ตอกตะปูเข็มขัดสายไฟตามแนวที่ตีเส้นเข้าที่ผนัง และแนวที่จะลงต าแหน่งที่ติดตั้งใหม่ด้วย
โดยพับ เข็มขัดทับหัวตะปูเพื่อจับขณะตอก
ขั้นตอนที่ 4
เว้นระยะห่างของเข็มขัดรัดสายไฟประมาณ 10-15ซม. ใ นส่วนโค้งหรือหักมุมของเพดานให้
ตอกเข็มขัดถี่ประมาณช่องละ1-2 ซม. เพื่อที่จะรัดสายไฟให้แนบสนิท กับผนังไม่โก่งงอ
ขั้นตอนที่ 5
ติดตั้ง เต้าเสียบที่ต าแหน่งใหม่ เจาะยึดตัวบล็ อคด้วยสว่านไฟฟ้าและขันด้วยสกรู ยึดให้แน่น
หากเ ป็นผนังไม้ควรหาโดรงไม้ทาบในผนังก่อนเพื่อความแ ข็งแรง
ขั้นตอนที่ 6
เดินสายไฟในแนวตอกเข็มขัดไว้และรัดสายไฟเข้ากับ เข็มขัดให้แน่น ต่อสายใส่เข้ากับเต้าเสียบ
ใหม่ใ ห้เรียบร้อยประกอบเข้าบล็อค
ขั้นตอนที่ 7
ปิดเมนสวิทช์ก่อนเช็คดูว่าไม่มีไฟเข้าปลั๊กที่จ ะต่อพ่วง โดยใช้ไขควงเช็คไฟเช็คดูว่าไม่มีแสง
ไฟใ นด้ามไขควง แล้วจึงท าการพ่วงสายไฟเข้ากับปลั๊กเ ดิม และทดลองเปิดสวิทช์แล้วใช้ไขควงเช็คไฟ
ที่ปลั๊กจุดใหม่
6.2 การเดินแบบฝังในผนัง
การเดินแบบฝังในผนังเป็นการเดินสายไฟโดยร้อยสายผ่านท่อสายไฟซึ่งฝังในผนังอาคาร ท าให้ดู
เรียบร้อยและตกแต่งห้องได้ง่ายเพราะมองไม่เห็นสายไฟจากภายนอก การเดินท่อร้อยสายต้องท าควบคู่ไป
พร้อมการก่อ-ฉาบ ไม่ควรประหยัดหรือปล่อยให้มีการลักไก่โดยการเดินสายไฟแบบฝังในผนังโดยไม่ร้อย
ใส่ท่อร้อยสายไฟ เพราะหากเกิดไฟรั่วอาจเกิดอุบัติเหตุกับผู้อาศัยเมื่อไปสัมผัสก าแพง การติดตั้งมีค่าใช้จ่าย
สูงกว่าแบบเดินสายบนผนัง การติดตั้งมีความยุ่งยากและซับซ้อน การเปลี่ยนแปลงและซ่อมแซมภาย
หลังจากที่ได้ติดตั้งไปแล้วท าได้ยากและเสียค่าใช้จ่ายมากกว่าแบบแรกมาก
การเดินสายไฟมักจะใช้วิธีเดินสาย ลอยตามผนังอาคาร ขณะที่การเดินท่อน ้าจะเดินท่อลอย
ตามขอบพื้นและขอบผนังเมื่อใช้งานไป หากเกิดการช ารุดเสียหายขึ้นการตรวจสอบและการซ่อมแซมก็
สามารถท าได้ไม่ยาก แต่ในปัจจุบันบ้านเรือนสมัยใหม่ มีความพิถีพิถัน ในด้านความสวยงามมากขึ้น