Page 7 - วชาปรบอากาศรถยนตรโปรเเกรม
P. 7
3
ควำมหมำยและข้อแตกต่ำงระหว่ำงควำมร้อนและอุณหภูมิ
2.1 ความร้อน (Heat) คือพลังงานรูปหนึ่ง ปกติความร้อนจะไหลจากสารที่มี
อุณหภูมิสูง ไปสู่สารที่มีอุณหภูมิต ่ากว่า ซึ่งเรียกว่า การส่งผ่านความร้อน
2.2 การเปลี่ยน สถานะของสาร (Phase Change) จะเกิดขึ้นเมื่อมี การให้ความ
ร้อนหรือเมื่อมีการระบายความร้อนออก
2.3 กรณีระบำยควำมร้อนออก
- แก๊สกลายเป็นของเหลว เรียกว่า การควบแน่น (Condensation)
- ของเหลวกลายเป็นของแข็ง เรียกว่า การแข็งตัว (Solidification)
2.4 กรณีให้ควำมร้อน
- ของแข็งกลายเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมละลาย (Fusion)
- ของแข็งกลายเป็นแก็ส เรียกว่า การระเหิด (Sublimation)
- ของเหลวกลายเป็นแก๊ส เรียกว่า การระเหยหรือการเดือด
(Vaporization)
3. เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer)
เทอร์โมมิเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้ส าหรับวัดอุณหภูมิ เทอร์โมมิเตอร์ส่วนมากอาศัย
หลักการขยายตัวและหดตัวของของเหลวในหลอดแก้วเมื่อได้รับความร้อนส่วนใหญ่จะใช้
ของเหลวที่ใช้บรรจุในหลอดแก้วแอลกอฮอล์หรือปรอท แต่ที่นิยมใช้มากก็คือ ปรอททั้งนี้
เพราะปรอทมีจุดเดือดสูงกว่าแอลกอฮอล์มาก เทอร์โมมิเตอร์ที่ใช้โดยทั่วไป แบ่งออกเป็น
2 ชนิด คือ ชนิดเซลเซียสหรือเซนติเกรด (Celcius or Centigrade) และ ชนิดฟาเรน
ไฮต์ (Fahrenheit)
3.1 เทอร์โมมิเตอร์ชนิดเซลเซียส (℃, °ซ ) ก าหนดให้จุดเยือกแข็งของน ้า
ภายใต้ความดันบรรยากาศอยู่ที่ 0 องศา และจุดเดือดของน ้าอยู่ที่ 100 องศา ช่วง
ระหว่างจุดทั้งสองแบ่งออกเป็น 100 ช่องเท่าๆ กันแต่ละช่องมีค่าเป็น 1 องศา ฉะนั้น